Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลกัษณ์ เขียนงาม-
dc.contributor.advisorสมบัติ ท้ายเรือคำ-
dc.contributor.authorภัทราวรรณ รุ่งเรืองวงศ์en_US
dc.date.accessioned2024-11-15T09:38:45Z-
dc.date.available2024-11-15T09:38:45Z-
dc.date.issued2024-08-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80157-
dc.description.abstractThis research has the objectives of the research 1. To develop a group activity program for the social skills of primary school students at Lanna International School. 2. To study the results of using a group activity program on social skills for primary school students at Lanna International School. The population is upper primary school students in Grade 5, aged 9-12 years old, it was an experimental group of 9 people from Lanna International School. Use a purposive selection method. The tools used in the research included assessing social skills. he experiments was scheduled according to the One-Group Pretest-Posttest Design. The tools used in this research consisted of 2 parts: 1) The tool used to collect data was a social skills assessment form. (Social-Skills Assessment) 2) The tools used in the experiment were the activity program. The group organized activities 10 times, 50 minutes each time, for a period of 10 days and followed up after the experiment for 1 month (Follow-up). Statistics used in data analysis are mean (Mean), percentage (%) and standard deviation. By classifying both in analytical form Overall and analysis of differences in each aspect of the target group in the pre-experiment period. After the experiment and the follow-up period of the five aspects of social skills and the effectiveness index (EI), the results found that 1) The results of the research found that students who received the social skills training program by the group activity program for social skills is content accurate and appropriate of the high overall score for social skills and scores the evaluation development process with an index of consistency between questions and objectives (IOC) ranging from .88 to 1.00 for areas as follows: In the area of communication, the effectiveness index (E.I.) value is equal to 0.3523, In the area of building relationships, the value is equal to 0.3333, In the area of teamwork, the value is equal to 0.3705, In the area of problem-solving, the value is equal to 0.3713, indicating that students have increased in skill by 37.13 percent, and in the aspect of self-confidence, the value is equal to 0.3501. 2) The results of using the group activity program on social skills were found to be the average of the overall social skills score. Before the experiment, the level was low to moderate. After the experiment was at a high level and follow-up was at a high level. In addition, social skills in each area include communication. Relationship building Group work Problem solving and confidence have social skills Increased in all 5 areas. Indicating that the group activity program promotes the development of social skills of international school students for the better. .en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคม ของนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนนานาชาติลานนาen_US
dc.title.alternativeEffect of using group activities program on social skills among primary students at Lanna International Schoolen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนประถมศึกษา-
thailis.controlvocab.thashทักษะทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนนานาชาติ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนนานาชาติลานนา 2) เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนนานาชาติลานนา ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 9 คน อายุระหว่าง 9-12 ปี เข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม ต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนนานาชาติลานนา โดยเลือกตามเกณฑ์การคัดเข้า กำหนดการทดลองตามแบบแผนการวิจัย One-Group Pretest-Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม โดยจัดกิจกรรมจำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เป็นระยะเวลา 10 วัน และมีการติดตามผลหลังการทดลอง 1 เดือน (Follow-up) 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมินทักษะทางสังคม (Social-Skills Assessment) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยจำแนกทั้งในรูปแบบการวิเคราะห์โดยภาพรวมและการวิเคราะห์ความแตกต่างรายด้านของกลุ่มเป้าหมายในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามผลของทักษะทางสังคมรายด้านทั้ง 5 ด้าน และดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคมมีค่าดัชนีประสิทธิผลของโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคมรายด้านมีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนนานาชาติลานนา (รายด้าน) ซึ่งแสดงว่าโปรแกรมนี้สามารถเพิ่มทักษะทางสังคมของนักเรียนได้ดังนี้ ด้านการสื่อสาร ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) มีค่าเท่ากับ 0.3523 ด้านการสร้างสัมพันธภาพมีค่าเท่ากับ 0.3333 ด้านการทำงานกลุ่มมีค่าเท่ากับ 0.3705 ด้านการแก้ไขมีค่าเท่ากับ 0.3713 และด้านความมั่นใจในตนเองมีค่าเท่ากับ 0.3501 2) ผลของการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มต่อทักษะทางสังคม พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะทางสังคมรวม 5 ด้านของนักเรียนก่อนการทดลองอยู่ในระดับต่ำถึงระดับปานกลางหลังการทดลองอยู่ในระดับสูงและติดตามผลอยู่ในระดับสูง อีกทั้งจำแนกทักษะทางสังคม 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อสาร ด้านการสร้างสัมพันธภาพ ด้านการทำงานกลุ่ม ด้านการแก้ไขปัญหา และ ด้านความมั่นใจในตนเอง นักเรียนมีทักษะทางสังคมเพิ่มขึ้นทุกด้านen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.