Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัลลภ เซียวชัยสกุล-
dc.contributor.advisorสินีนาฏ ชาวตระการ-
dc.contributor.authorพัชร์ธีรัตน์ สิงห์คำen_US
dc.date.accessioned2024-11-14T00:48:12Z-
dc.date.available2024-11-14T00:48:12Z-
dc.date.issued2024-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80156-
dc.description.abstractCurrently, suicide is a major public health problem, with the statistics on suicide deaths being higher than the thresholds set by the Ministry of Public Health and showing an increasing trend, particularly among the working-age population. The objectives of this study were to investigate the association between spiritual intelligence, quality of life, and suicidal thoughts, as well as to examine the levels of spiritual intelligence, quality of life, and suicidal. This cross-sectional study among the working-age population in Chiang Mai province, involving 472 participants. Data were collected between November 2023 and January 2024 using a spiritual intelligence questionnaire, a quality of life questionnaire, and a screening tool for those at risk of suicide (SU-9), with analysis performed using multivariate logistic regression through a statistical analysis software program. The study found that the sample group had a high level of spiritual intelligence, a medium quality of life, and a suicide risk of 28.81%, which is a significant number compared to previous studies. Factors such as gender, age, education, income, smoking, drinking alcohol, relationships with partners and friends, experiences of physical abuse, loss of family members, previous suicide attempts or successful suicides, and spiritual intelligence were statistically significant in relation to suicidal thoughts among working-age Thai individuals.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลกับความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายของประชาชนวัยทำงาน จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting the risk of suicide among people in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย-
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย -- ปัจจัยเสี่ยง-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมฆ่าตัวตาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบัน การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งสถิติเสียชีวิติจากการฆ่าตัวตาย มีอัตราสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในประชาชนกลุ่มวัยทำงาน การศึกษาวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกับความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย และศึกษาระดับความฉลาดทางจิตวิญญาณ คุณภาพชีวิตและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โดยการศึกษาแบบภาคตัดขวางศึกษาในกลุ่มประชาชนวัยทำงาน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 472 คน ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 – เดือนมกราคม พ.ศ. 2567 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความฉลาดทางจิตวิญญาณ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตและแบบคัดกรองผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (SU-9) ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกเชิงพหุ (Multivariable Logistic Regression Analysis) ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติสำเร็จรูป ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความฉลาดทางจิตวิญญาณโดยรวมอยู่ในระดับสูง มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับกลาง และกลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ร้อยละ 28.81 ซึ่งมีจำนวนมาก เมื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาที่ผ่านมา โดยที่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความสัมพันธ์กับคนรักและเพื่อน การถูกทำร้ายร่างกายและการสูญเสียบุคคลในครอบครัว การพยายามฆ่าตัวตายหรือการฆ่าตัวตายสำเร็จของสมาชิกในครอบครัวและความฉลาดทางจิตวิญญาณเป็นปัจจัยที่มีผลกับความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายของประชาชนวัยทำงานอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ en_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
642232005.pdf9.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.