Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80122
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนิรุทธ์ วัชรวิภา | - |
dc.contributor.advisor | วรรณภา นบนอม | - |
dc.contributor.author | ศิริรัตน์ ทองทา | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-22T01:00:44Z | - |
dc.date.available | 2024-10-22T01:00:44Z | - |
dc.date.issued | 2024-10-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80122 | - |
dc.description.abstract | The Precision® treatment planning system (TPS) is specifically designed for the helical tomotherapy. This TPS requires the parameters to create the beam geometries for achieving the highest treatment plans quality. The optimization and dose calculation were one of the main impacts, particularly the grid resolution. This TPS allows the independently selection of various grid resolutions between optimization and dose calculation processes. This study then investigated the impact of grid resolution between the selection of the optimization and dose calculation resolution. The study recruited the 41 nasopharyngeal cancer patients who previously treated with helical tomotherapy. Nine treatment planning scenarios were created by the combination between the different resolution of optimization and calculation. This combination was selected among three different resolution level; Low resolution (L), Medium resolution (M), and High resolution (H) where the symbol O/C represented the resolution of optimization/dose calculation (e.g. M/L means medium resolution and low resolution for the optimization and dose calculation, respectively). The plan quality comparison was accessed through the dosimetric parameters both the target and organs at risk (OARs) by the H/H plan scenario benchmark. The results showed the dosimetric parameters of the target were increased when the low grid resolution of the optimization was applied. On the other hand, their dosimetric parameters were decreased when this resolution was used in the dose calculation. However, the study found a M/H, M/M, L/H, and L/M plan scenario had a higher dose when compared to the on the H/H plan scenario (reference plan scenario). The grid resolution affected not only on the CI value but also on the HI value. The results revealed a degraded CI and HI value when the low resolution was applied in the optimization process. On the OARs, the grid resolution influenced some organs, particularly the spinal cord and both parotid glands. The plan scenario of M/H showed low number of dosimetric parameters that were significant different to the reference plan scenario. For the planning time, the study found a highest grid resolution was significantly increased. Finally, this study found a different FOV, had a minimal impact on the dosimetric parameter. The study recommended the plan scenarios of the M/H and M/M were an alternative selection for the treatment planning. These resolutions also provided a high treatment plan quality on the target, low impact on OARs dose and also the calculation time of planning reduction. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์คุณภาพแผนรังสีรักษาบริเวณศีรษะและลำคอ ด้วยขนาดปริมาตรการปรับความเข้มรังสีและการคำนวณปริมาณรังสีที่แตกต่างกันด้วยเครื่องวางแผนรังสีรักษาโวโลอัลตร้าของเทคนิคภาพนำแบบเกลียวหมุน | en_US |
dc.title.alternative | Plan quality analysis of head and neck treatment planning in different grid size of optimization and dose calculation by VOLOTM Ultra in Tomotherapy treatment planning system | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การรักษาด้วยรังสี | - |
thailis.controlvocab.thash | มะเร็ง -- การบำบัดด้วยแสง | - |
thailis.controlvocab.thash | มะเร็ง -- การรักษา | - |
thailis.controlvocab.thash | มะเร็งโพรงจมูก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ระบบวางแผนรังสีรักษา Precision® ถูกออกแบบมาอย่างจำเพาะสำหรับเครื่องฉายรังสีภาพนำแบบเกลียวหมุน ในระบบวางแผนรังสีรักษานี้ต้องการค่าพารามิเตอร์เพื่อสร้างลักษณะของลำรังสี เพื่อให้ได้แผนรังสีรักษาที่มีคุณภาพสูงสุด ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการ optimization และ dose calculation คือความละเอียดของ grid ระบบวางแผนรังสีรักษานี้สามารถเลือกความละเอียดของ grid ได้อย่างเป็นอิสระต่อกันระหว่างกระบวนการ optimization และ dose calculation งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบจากการเลือกใช้ความละเอียดของ grid ระหว่างความละเอียดในกระบวนการ optimization และ dose calculation งานวิจัยนี้คัดเลือกผู้ป่วยมะเร็งหลังโพรงจมูกทั้งหมด 41 รายที่เคยรักษาด้วยเทคนิคฉายรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุน แผนรังสีรักษาทั้งหมด 9 รูปแบบถูกสร้างขึ้นโดยผสมผสานความละเอียดในกระบวนการ optimization และ dose calculation ที่แตกต่างกัน โดยเลือกระดับความละเอียดแบบ Low resolution (L), Medium resolution (M) และ High resolution (H) โดยใช้สัญลักษณ์ O/C แทนความละเอียดของกระบวนการ optimization และ dose calculation (เช่น M/L หมายถึง medium resolution และ low resolution สำหรับกระบวนการ optimization และ dose calculation ตามลำดับ) การเปรียบเทียบคุณภาพของแผนรังสีรักษาถูกประเมิณจากค่าพารามิเตอร์ทางรังสีคณิต ทั้งในปริมาตรเป้าหมายและอวัยวะปกติโดยใช้แผน H/H เป็นแผนรังสีรักษาอ้างอิง จากผลการวิจัยพบว่าค่าพารามิเตอร์ทางรังสีคณิตของปริมาตรเป้าหมายจะเพิ่มสูงขึ้น เมื่อใช้ความละเอียดของ grid ต่ำในกระบวนการ optimization แต่ค่าพารามิเตอร์ทางรังสีคณิตจะลดลงเมื่อใช้ความละเอียดต่ำในกระบวนการ calculation อย่างไรก็ตามจากการวิจัยพบว่าแผน M/H, M/M, L/H และ L/M ให้ปริมาณรังสีที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับแผน H/H (แผนรังสีรักษาอ้างอิง) ความละเอียดของ grid ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อค่า CI เท่านั้นแต่ยังส่งผลต่อค่า HI อีกด้วย ผลการวิจัยพบว่าค่า CI และ HI นั้นแย่ลงเมื่อใช้ low resolution ในกระบวนการ optimization ในปริมาตรอวัยวะปกติพบว่าความละเอียดของ grid จะส่งผลกระทบเพียงบางอวัยวะเท่านั้น โดยเฉพาะในเส้นประสาทไขสันหลัง และต่อมน้ำลายทั้ง 2 ข้าง ในแผน M/H แสดงจำนวนค่าพารามิเตอร์ทางรังสีคณิตที่มีความแตกต่างทางสถิติกับแผนรังสีรักษาอ้างอิงน้อยที่สุด สำหรับระยะเวลาในการสร้างแผนรังสีรักษาจากพบว่า ความละเอียดของ grid สูงสุดทำให้ระยะเวลาในการคำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และสุดท้ายผลจากการศึกษาขนาดของภาพ (FOV) ที่พบว่าส่งผลต่อค่ารังสีคณิตเพียงเล็กน้อย งานวิจัยนี้แนะนำรูปแบบแผน M/H และ M/M เป็นทางเลือกสำหรับการวางแผนรังสีรักษา เนื่องจากความละเอียดแบบดังกล่าว ให้คุณภาพของแผนรังสีรักษาสูงในปริมาตรเป้าหมาย ส่งผลกระทบต่อปริมาณรังสีในปริมาตรอวัยวะปกติต่ำ อีกทั้งยังช่วยลดระยะเวลาในการคำนวณแผนรังสีรักษาอีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650731025-ศิริรัตน์ ทองทา.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.