Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสืบพงศ์ เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorรัตติกาล คำมงคลen_US
dc.date.accessioned2024-10-21T10:28:32Z-
dc.date.available2024-10-21T10:28:32Z-
dc.date.issued2024-08-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80111-
dc.description.abstractDurian of the Long Lab Lae variety is a local variety of Uttaradit Province that has been registered as a geographical indication (GI). Its unique fragrance, sweet and creamy taste, and small seeds have led to its increasing popularity. However, consumers continue to face challenges in pre-ordering durians, which may result in receiving durians of unsatisfactory quality. Additionally, farmers lack effective channels to manage customers and inventory. This research aims to develop a system for pre-ordering Long Lab Lae durians, as well as tracking the growth of durians in real-time through social commerce. This system includes online pre-ordering and offline inventory management to accommodate areas with limited internet access. Therefore, we aim to measure the system’s effectiveness through user satisfaction. The system was tested with 5 farmers and 20 consumers. Quantitative data were collected through a survey using a 5-level satisfaction questionnaire consisting of 5 questions. The findings reveal that 60 percent of consumers were highly satisfied with the confidence in purchasing durians through the system, 75 percent found the tracking of durian growth convenient and timely, and 80 percent of farmers reported improved efficiency in inventory management through the system. The research found that overall consumer satisfaction was high, with the most appreciated aspect being the convenience of tracking durian growth. In contrast, satisfaction with the inventory management system received the lowest scores. Nevertheless, the developed system helped reduce the risk of receiving durians that did not meet the desired quality and increased confidence in the buying process. Good technical support enabled farmers to manage and monitor durians more effectively. This study suggests improvements to the system to support areas with limited internet connectivity and recommends increasing support and training for future users.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจองซื้อและการรายงานการเจริญเติบโตของผลทุเรียนผ่านโซเชียลคอมเมิร์ซen_US
dc.title.alternativeDurian fruit booking and growth reporting via social commerceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashทุเรียน -- อุตรดิตถ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractทุเรียนพันธุ์หลงลับแลเป็นทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ด้วยกลิ่นหอม รสชาติหวานมัน และเมล็ดลีบ ทำให้ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคยังคงพบปัญหาในการจองซื้อทุเรียน ซึ่งอาจได้ทุเรียนคุณภาพไม่เป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้เกษตรกรขาดช่องทางในการบริหารจัดการลูกค้าและคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้จึงมุ่งพัฒนาระบบการจองซื้อทุเรียนหลงลับแล การติดตามการเจริญเติบโตของทุเรียนแบบเรียลไทม์ ผ่านโซเชียลคอมเมิร์ซ ซึ่งรวมถึงการจองออนไลน์ และการจัดการคลังสินค้าในโหมดออฟไลน์เพื่อให้เหมาะกับพื้นที่ที่มีข้อจำกัดด้านอินเทอร์เน็ต ฉะนั้นเราจึงต้องการวัดประสิทธิภาพของระบบผ่านความพึงพอใจของผู้ใช้งาน การศึกษาทดสอบระบบกับเกษตรกร 5 คน และผู้บริโภค 20 คน ได้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณผ่านวิธีการสำรวจ โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามความพึงพอใจ 5 ระดับ ประกอบด้วย 5 คำถาม พบว่าร้อยละ 60 ของผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ต่อความมั่นใจในการซื้อทุเรียนผ่านระบบ ร้อยละ 75 ของผู้บริโภครู้สึกว่าการติดตามการเจริญเติบโตของทุเรียนสะดวกและทันเวลา และร้อยละ 80 ของเกษตรกรรายงานว่าการจัดการคลังสินค้าผ่านระบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลวิจัยพบว่า ความพึงพอใจภาพรวมของผู้บริโภคอยู่ในระดับสูง โดยประเด็นที่ผู้บริโภคพึงพอใจมากที่สุด คือความสะดวกในการติดตามการเจริญเติบโตของทุเรียน ในทางตรงกันข้ามความพึงพอใจในระบบการจัดการคลังสินค้าเป็นประเด็นที่ได้รับคะแนนต่ำที่สุด อย่างไรก็ตาม ระบบที่พัฒนาขึ้นช่วยลดความเสี่ยงในการได้รับทุเรียนที่ไม่ตรงตามคุณภาพที่ต้องการ และเพิ่มความมั่นใจในกระบวนการซื้อ การสนับสนุนทางเทคนิคที่ดีช่วยให้เกษตรกรจัดการและติดตามทุเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการศึกษานี้เสนอแนวทางในการปรับปรุงระบบเพื่อรองรับพื้นที่ที่มีข้อจำกัดด้านการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และแนะนำการเพิ่มการสนับสนุนและการฝึกอบรมสำหรับผู้ใช้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132051-RUTTIKAN KHAMMONGKHON.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.