Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorอชิรญา เทศภักดีen_US
dc.date.accessioned2024-09-19T10:19:59Z-
dc.date.available2024-09-19T10:19:59Z-
dc.date.issued2024-08-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80045-
dc.description.abstractThis research aims to study the impact of the establishment of Special Economic Zones (SEZs) on Gross Provincial Product per Capita (GPP) and employment in provinces with SEZs. The analysis utilizes annual panel data from 2010 to 2022, covering 10 provinces in total. The Panel Autoregressive Distributed Lag (Panel ARDL) model is employed to examine the long-term impact and equilibrium relationship on GPP and employment in provinces with SEZs. The results show that the implementation of the SEZ policy significantly increases GPP per capita in provinces with SEZs. Conversely, the long-term equilibrium relationship of factors affecting employment in SEZ provinces remains uncertain. SEZs have a positive impact on household savings but a negative impact on income, both findings being statistically significant. Additionally, the impact of investment within SEZs is not statistically significant. Therefore, the government should have plans to develop local labor skills to better adapt to the new economic conditions and access higher-paying jobs.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEconomic Impacts of the Establishment of Special Economic Development Zones in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashไทย -- นโยบายเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีต่อผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวและการจ้างงานในจังหวัดที่มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยใช้ข้อมูลแบบพาแนล (Panel data) รายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 ถึง พ.ศ. 2565 พิจารณาทั้ง 10 จังหวัด โดยใช้แบบจำลอง Panel Autoregressive Distributed Approach (Panel ARDL) สำหรับศึกษาผลกระทบและความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวต่อผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวและจ้างงานในจังหวัดที่มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าหลังจากการดำเนินนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษส่งผลต่อการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัวประชากรในจังหวัดที่มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในทางกลับกัน ผลลัพธ์ของความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวของปัจจัยที่มีผลต่อการจ้างงานในจังหวัดที่มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษยังคงให้ผลที่ไม่แน่นอนต่อการจ้างงาน เนื่องจากจังหวัดที่มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษส่งผลเชิงบวกต่อการออมของประชาชน แต่มีผลกระทบเชิงลบต่อรายได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ การลงทุนไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น ภาครัฐควรมีแผนพัฒนาทักษะแรงงานในพื้นที่ให้สามารถปรับตัวได้ดีกับสภาวะเศรษฐกิจใหม่และสามารถเข้าถึงงานที่มีรายได้สูงขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641631017-อชิรญา เทศภักดี.pdf9.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.