Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80032
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภราดร สุรีย์พงษ์ | - |
dc.contributor.author | ณภัทร พีรถาวร | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-06T03:57:27Z | - |
dc.date.available | 2024-09-06T03:57:27Z | - |
dc.date.issued | 2024-08-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80032 | - |
dc.description.abstract | Business matchmaking in trade fairs is a crucial activity that promotes commerce for entrepreneurs by providing a platform to present products, discuss, negotiate, and make business deals. However, due to the global impact of the COVID-19 pandemic, which led to an unusual situation worldwide and affected Thailand as well, the organization of such events was halted. This included the cancellation of gatherings and flights, leading to the suspension of related activities. This research, therefore, aims to develop a business matchmaking system using a multi-camera teleconferencing setup to enhance business negotiation opportunities by leveraging technology. This system simplifies the negotiation process, saves time, is convenient, reduces event costs, and allows data to be collected during negotiations for analysis and evaluation. This helps entrepreneurs make improvements and enhance the effectiveness of their products and services. The system was tested with a group of buyers and sellers, consisting of 15 buyers and 50 sellers from the Chiang Mai Chamber of Commerce. Data were collected using a satisfaction survey regarding the use of the business matchmaking system with the multi-camera teleconferencing setup. The case study of the Chiang Mai Chamber of Commerce showed an overall satisfaction score of 4.32, which is considered a high level of satisfaction. When analyzed by category, the highest average score was in the satisfaction with the user experience of the business matchmaking system using the multi-camera teleconferencing setup, with an average score of 4.32. This indicates that users were more satisfied with this system than with the traditional format, and it effectively resolved the challenges of organizing business negotiation events during unusual circumstances. The next highest score was 4.30 for the display's completeness in necessary details, followed by 4.20 for screen and sound quality. The results were compiled, showing that all functions performed very well. However, the study suggests that improvements should be made to the font size on the display screen, as the text was found to be relatively small and inconvenient for users. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ระบบจับคู่เจรจาธุรกิจโดยใช้ระบบประชุมทางไกลแบบหลายกล้องเพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ | en_US |
dc.title.alternative | Business matching system using multi-camera video conferencing system to increase business opportunities | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | การประชุมทางธุรกิจ | - |
thailis.controlvocab.thash | การประชุมทางไกล | - |
thailis.controlvocab.thash | ธุรกิจ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ประกอบการ -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การจับคู่เจรจาธุรกิจในงานแสดงสินค้าเป็นอีกหนึ่งในกิจกรรมที่ส่งเสริมการค้าขายที่สำคัญสำหรับผู้ประกอบการ โดยเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการนำเสนอสินค้า พูดคุย เจรจา ต่อรองด้านธุรกิจ แต่เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 เกิดสภาวะการณ์ที่ไม่ปกติทั่วโลก และส่งผลกระทบโดยรวมต่อประเทศไทย จึงเป็นเหตุให้งดการจัดกิจกรรม งดการรวมตัว ยกเลิกเที่ยวบินการเดินทางต่างๆ จึงเป็นที่มาของงานวิจัยชิ้นนี้ โดยมีความประสงค์ที่จะพัฒนา นำเอาระบบจับคู่เจรจาธุรกิจโดยใช้ระบบประชุมทางไกลแบบหลายกล้อง เพื่อเพิ่มโอกาสทางการเจรจาธุรกิจ โดยนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาเป็นตัวช่วย ส่งผลให้กระบวนการในการเจรจาธุรกิจมีขั้นตอนที่ง่ายขึ้น ประหยัดเวลา สะดวก และลดค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม อีกทั้ง ยังสามารถเก็บข้อมูลได้ในระหว่างเจรจา เพื่อนำไปวิเคราะห์ผลการประเมิน เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไป ปรับปรุง แก้ไขในสินค้าและบริการให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นต่อไป การศึกษาทดสอบระบบกับกลุ่มผู้ซื้อและผู้ขาย ประกอบไปด้วยผู้ซื้อ (Buyer) จำนวน 15 ราย ผู้ขาย (Seller) จำนวน 50 ราย จากกลุ่มหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ได้ทำการเก็บข้อมูลจากการทำแบบประเมิน ผ่านวิธีการสำรวจความพึงพอใจ ต่อการใช้งานของระบบจับคู่เจรจาธุรกิจโดยใช้ระบบประชุมทางไกลแบบหลายกล้องเป็นตัวทดสอบกิจกรรม กรณีศึกษาหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่มีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.32 ซึ่งอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือด้านความพึงพอใจต่อประสบการณ์การใช้งานของระบบจับคู่เจรจาธุรกิจโดยใช้ระบบประชุมทางไกลแบบหลายกล้อง คะแนนเฉลี่ย 4.32 ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ผลประเมินดังกล่าว ผู้ใช้งานต่างมีความพึงพอใจมากกว่าการใช้งานในรูปแบบเดิม และสามารถแก้ไขปัญหาการจัดกิจกรรมเจรจาธุรกิจได้แม้ยังอยู่ในช่วงเหตุการณ์ไม่ปกติได้ รองลงมาด้านหน้าจอแสดงผลครบถ้วนในรายละเอียดที่จำเป็น ค่าเฉลี่ย 4.30 และด้านคุณภาพหน้าจอและคุณภาพเสียง ค่าเฉลี่ย 4.20 โดยผู้วิจัยได้นำผลลัพธ์ที่ได้มาประมวลผลของผู้ใช้งาน สังเกตได้ว่าอยู่ในระดับดีมากในทุกฟังก์ชั่น อย่างไรก็ตาม ระบบที่พัฒนานี้สามารถช่วยแก้ไขให้ผู้ประกอบการได้ในด้านของการเจรจาธุรกิจ มีโอกาสนำเสนอสินค้า ซื้อ ขาย สินค้า บริการได้ และสำหรับผู้จัดงานสามารถลดค่าใช้จ่ายของการจัดงานในเรื่องของงบประมาณด้านสถานที่ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง จากการศึกษานี้ เสนอแนวทางที่ควรปรับปรุงคือ ขนาดของตัวอักษรบนหน้าจอแสดงผลที่มีขนาดค่อนข้างเล็กเกินไป ทำให้ผู้ใช้งานไม่ค่อยสะดวก | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632132040 - ณภัทร พีรถาวร.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.