Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์-
dc.contributor.authorกรรณิกา แปลงดีen_US
dc.date.accessioned2024-09-02T00:50:34Z-
dc.date.available2024-09-02T00:50:34Z-
dc.date.issued2566-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80014-
dc.description.abstractIntrahospital transfer of critically ill patients might expose patients to additional harm and risk of death. Thus, a proper transfer process is needed to keep patients safe during transfer. This developmental study aimed to improve the quality of intrahospital transfer for patients who were admitted to the Respiratory Care Ward, Uttaradit Hospital. The method followed four steps of the PDSA cycle: Planning, Doing, Studying, and Acting. The study population was 22 registered nurses. The research instrument included guidelines for transferring patients in hospitals and a form to record compliance with guidelines for transferring patients within the hospital. Data was analyzed by descriptive statistics.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลหอผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์en_US
dc.title.alternativeQuality improvement of intrahospital patient transfer, the respiratory care ward, Uttaradit Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- อุตรดิตถ์-
thailis.controlvocab.thashการส่งต่อผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashพยาบาลกับผู้ป่วย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดอันตรายและเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ ดังนั้นกระบวนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในระหว่างการเคลื่อนย้าย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการเคลื่อนย้ายภายในโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยที่นอนรักษาตัวในหอผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์วิธีการศึกษาใช้ 4 ขั้นตอนในการพัฒนาด้วยวงจรพีดีเอสเอ ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติการเรียนรู้ และการนำผลมาประเมิน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 22 คนเครื่องมือที่ใช้ดำเนินการศึกษา ได้แก่ แนวทางในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลและแบบฟอร์มบันทึกการปฏิบัติตามแนวทางในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล การวิเคราะห์ข้อมูลในการเคลื่อนข้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล ร้อยละ 87.32 ของพยาบาลมีการปฏิบัติตามแนวทาง โดยในระหว่างการเคลื่อนย้าย มีผู้ป่วยจำนวน 24 ราย จากทั้งหมด 71 ราย (ร้อยละ 33.80) เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งในจำนวนผู้ป่วย 24 รายนั้น มีจำนวน 12 รายที่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ 1 อาการ เช่น คือ หายใจเร็ว ความดันโลหิตผิดปกติ เป็นต้น ส่วนที่เหลือ 12 รายเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ 2 อาการร่วมกัน โดยผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ทุกรายได้รับการดูแลตามแนวทางการเคลื่อนย้ายภายใน โรงพยาบาลได้ทันเวลา จึงไม่พบว่ามีผู้ป่วยที่เสียชีวิตในระหว่างการเคลื่อนย้ายผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการพีดีเอสเอเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาการเคลื่อนย้ายภายใน โรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยวิกฤต โดยการใช้กระบวนการพีดีเอสเอสเอทำให้ได้แนวทางการเคลื่อนย้ายภายในโรงพยาบาลที่เหมาะสม ส่งเสริมให้พยาบาลปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว รวมทั้งปฏิบัติตามมาตรฐานการพยาบาลที่ช่วยป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในระหว่างการเคลื่อนย้ายได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231047 กรรณิกา แปลงดี.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.