Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79974
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pisaisit Chaijareenont | - |
dc.contributor.author | Winwan Vilaiwan | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-14T10:54:00Z | - |
dc.date.available | 2024-08-14T10:54:00Z | - |
dc.date.issued | 2024-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79974 | - |
dc.description.abstract | The objective of the study is to investigate and compare the adhesive bond strength between resin cement and zirconia surface after contamination with saliva, as well as to compare how different concentrations of sodium hypochlorite solution used in cleaning affect the bond strength. Additionally, the study aims to compare the bond strength between resin cement and zirconia surface before and after thermocycling. Research Methodology: Test specimens consisted of 103 zirconia pieces in total. Each specimen was embedded into a square-shaped mold made of polyvinyl chloride (PVC), then sandblasted, cleaned, and dried free of any residual material. All except one specimen underwent the contamination process with human saliva, after which the specimens were divided into 6 groups according to the following surface cleaning methods: Group 1: Cleaning with distilled water (the control group) Group 2: Cleaning with isopropyl alcohol Group 3: Cleaning with 1% sodium hypochlorite solution Group 4: Cleaning with 2.5% sodium hypochlorite solution Group 5: Cleaning with 5% sodium hypochlorite solution Group 6: Cleaning with 10% sodium hypochlorite solution One specimen from each group was randomly selected for the microscopic surface examination using Scanning Electron Microscopy (SEM) and the elemental analysis using Energy-Dispersive X-ray Spectroscopy (EDS). The remaining specimens were injected with self-adhesive resin cement (RelyX universal), then immersed in distilled water at 37 °C for 24 hours, and, finally, divided randomly into two subgroups. The specimens in Subgroup 1 were immediately tested for the shear bond strength while those in Subgroup 2 underwent thermocycling at 5 and 55 °C for 10,000 cycles before being tested for the shear bond strength. The shear bond strength testing was performed using two-way ANOVA analysis and Tukey's post-hoc test. Research Findings: The average bond strength of all groups decreased after thermocycling compared from before thermocycling. The highest average bond strength after thermocycling was observed in the group cleaned with 10% sodium hypochlorite solution (27.36 ± 2.38 MPa), albeit not significantly different from the groups cleaned with 2.5% and 5% sodium hypochlorite solutions. After thermocycling, the group cleaned only with distilled water experienced bond failure among all its specimens. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | The Effect of cleaning Saliva-Contaminated Zirconia with Various Sodium Hypochlorite Concentrations on shear bond strength | en_US |
dc.title.alternative | ผลของการทำความสะอาดเซอร์โคเนียที่ปนเปื้อนน้ำลายด้วย โซเดียมไฮโปคลอไรต์ต่างความเข้มข้นต่อค่าความแข็งแรงยึดเฉือน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Dentistry | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Sodium hypochlorite | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Hypochlorites | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Shear (Mechanics) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Zirconium oxide | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์กับพื้นผิวเซอร์โคเนียภายหลังการปนเปื้อนด้วยน้ำลาย และทําความสะอาดพื้นผิวด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่ความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ร่วมกับเพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินซีเมนต์กับพื้นผิวเซอร์โคเนีย ก่อนและหลังการทําเทอร์โมไซคลิง(thermocycling) วิธีการวิจัย สร้างชิ้นทดสอบจากเซอร์โคเนียชนิดจำนวน 103 ชิ้น เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสฝังในแบบหล่อท่อโพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC) และขัดผิวกระดาษทราย หลังจากนั้นทำการปนเปื้อนน้ำลาย ยกเว้น 1 ชิ้น จากนั้นแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ตามการวิธีการทำความสะอาดพื้นผิว กลุ่มที่ 1 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยการล้างน้ำกลั่น (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยสารไอโวคลีน กลุ่มที่ 3 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 1 % กลุ่มที่ 4 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 2.5 % กลุ่มที่ 5 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 5 % กลุ่มที่ 6 ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 10 % สุ่มชิ้นทดสอบกลุ่มละ 1 ชิ้น เพื่อนำมาส่องดูลักษณะพื้นผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด และตรวจสอบองค์ประกอบของธาตุบนพื้นผิวด้วยเครื่องวิเคราะห์ผิววัสดุสเปคโตรสโคปีของอนุภาคอิเล็กตรอนที่ถูกปลดปล่อยด้วยรังสีเอกซ์ จากนั้นนำเรซินซีเมนต์ชนิดรีไลย์เอ็กซ์ ยูนิเวอร์แซล ลงในท่อโพลีเอธิลีนบนเซอร์โคเนียที่ทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว หลังจากแช่ชิ้นทดสอบในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สุ่มแบ่งชิ้นทดสอบในแต่ละกลุ่ม เป็น 2 กลุ่มย่อย กลุ่มย่อยที่ 1 นำไปทดสอบความแข็งแรงยึดเฉือนทันที และกลุ่มย่อยที่ 2 ทำเทอร์โมไซคลิงที่อุณหภูมิ 5 และ 55 องศาเซลเซียส จำนวน 10,000 รอบ จากนั้นนำไปทดสอบความแข็งแรงยึดเฉือนด้วย อัตราเร็วหัวกด 1 มิลลิเมตร/นาที โดยใช้การวิเคราะห์ ความแปรปรวนสองทาง และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกีย์ ที่ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนของทุกกลุ่ม หลังทำเทอร์โมไซคลิงมีค่าลดลงจากก่อนทำเทอร์โมไซคลิง ชิ้นทดสอบก่อนทำเทอร์โมไซคลิงที่ปนเปื้อนด้วยน้ำลายในกลุ่มที่ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 10 % (27.36 ± 2.38 MPa) มีค่าสูงสุด แต่ไม่ได้แตกต่างจากกลุ่มที่ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 2.5% และ 5% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภายหลังทำเทอร์โมไซคลิง กลุ่มที่ทำความสะอาดด้วยน้ำกลั่นเพียงอย่างเดียว ชิ้นงานหลุดระหว่างทำเทอโมไซคลิงทั้งหมด โดยค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนของกลุ่มที่ทำความสะอาดพื้นผิวด้วยด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 10% , 5% และ 2.5% ไม่ได้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640931029-วินวรรณ วิไลวัลย์.pdf | 6.65 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.