Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชนิตว์ ลีนาราช-
dc.contributor.authorเรณุกา สันธิen_US
dc.date.accessioned2024-08-04T03:19:21Z-
dc.date.available2024-08-04T03:19:21Z-
dc.date.issued2564-10-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79928-
dc.description.abstractThe objective of this study was to study the digital literacy competencies and the factors that promoted the digital literacy competencies in the performance for librarians at Thai research university libraries. The tool used was a questionnaire. The population used in the study were: librarians (including information specialists and information professionals) who worked in 9 National Research University Libraries, totaling 282 people. The total of 241 questionnaires (85.46 %) were returned. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation. The results of the study of opinions on digital literacy competencies, which consisted of knowledge, skills and attributes. It was found that as a whole, librarians were the first priority in attribute competency the overall average was at a high level (x ̅ = 4.50). The top 3 averages were: morals, ethics and professional ethics (x ̅ = 4.62) awareness of protection of privacy and intellectual property rights (x ̅ = 4.61) respected and complied with the law (x ̅ = 4.60). The second priority in skill competence the overall average was at a high level (x ̅ = 4.15). The top 3 averages were: basic skills for librarians (x ̅ = 4.28) professional skills for management (x ̅ = 4.17) professional skills for developed digital information resources (x ̅ = 4.12). And the third priority in knowledge competence the overall average was at a high level (x ̅ = 4.08). The top 3 averages were: the basic knowledge for librarians (x ̅ = 4.28) professional knowledge for developed digital information resources (x ̅ = 4.10) professional knowledge for management (x ̅ = 4.02). The results of this study of factors that promoted digital literacy competencies in practiced for librarians at Thai research university libraries found that the average was included in the high level (x ̅ = 4.48). The top 5 topics with the highest total averages were: staffs and human resources development (x ̅ = 4.55) infrastructures (x ̅ = 4.54) policies of library administrators (x ̅ = 4.50) university policies (x ̅ = 4.46) and external environments (x ̅ = 4.40).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมรรถนะการรู้ดิจิทัลen_US
dc.subjectการรู้ดิจิทัลen_US
dc.titleสมรรถนะการรู้ดิจิทัลสำหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทยen_US
dc.title.alternativeDigital literacy competencies for librarians at Thai research university librariesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสมรรถนะ-
thailis.controlvocab.thashคุณสมบัติทางอาชีพ-
thailis.controlvocab.thashบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- วิจัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะการรู้ดิจิทัลและปัจจัยส่งเสริมสมรรถนะการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยรวบรวมจากประชากรทั้งหมด ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งบรรณารักษ์ (รวมถึง นักเอกสารสนเทศ และนักบรรณสารสนเทศ) ที่ปฏิบัติงานในห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จำนวน 9 แห่ง จำนวน 282 คน ได้แบบสอบถามคืนมาทั้งหมด จำนวน 241 ชุด (ร้อยละ 85.46) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาความเห็นด้านสมรรถนะการรู้ดิจิทัลซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ พบว่าในภาพรวมบรรณารักษ์ให้ความสำคัญอันดับแรก ด้านคุณลักษณะ มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.50) เมื่อศึกษารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ (x ̅ = 4.62) มีความตระหนักถึงการป้องกันความเป็นส่วนตัวและสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (x ̅ = 4.61) เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย (x ̅ = 4.60) รองลงมาให้ความสำคัญกับสมรรถนะด้านทักษะ มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.15) เมื่อศึกษารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ทักษะพื้นฐานสำหรับบรรณารักษ์ (x ̅ = 4.28) ทักษะเฉพาะวิชาชีพสำหรับงานบริหาร (x ̅ = 4.17) ทักษะเฉพาะวิชาชีพสำหรับงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล (x ̅ = 4.12) และให้ความสำคัญกับสมรรถนะด้านความรู้เป็นอันดับสาม มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก (x ̅ = 4.08) เมื่อศึกษารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ความรู้พื้นฐานสำหรับบรรณารักษ์ (x ̅ = 4.28) ความรู้เฉพาะวิชาชีพสำหรับงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล (x ̅ = 4.10) ความรู้เฉพาะวิชาชีพสำหรับงานบริหาร (x ̅ = 4.02) ผลการศึกษาปัจจัยส่งเสริมสมรรถนะการรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานสำหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.48) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยรวมสูงสุด 5 อันดับแรก คือ ด้านบุคลากรและการพัฒนาบุคลากร (x ̅ = 4.55) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (x ̅ = 4.54) ด้านนโยบายของผู้บริหารห้องสมุด (x ̅ = 4.50) ด้านนโยบายของมหาวิทยาลัย (x ̅ = 4.46) และด้านสภาพแวดล้อมภายนอก (x ̅ = 4.40) ตามลำดับen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132027 เรณุกา สันธิ.pdf9.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.