Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีราพร แซ่แห่ว-
dc.contributor.authorนพพร สินสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-28T08:49:52Z-
dc.date.available2024-07-28T08:49:52Z-
dc.date.issued2567-05-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79903-
dc.description.abstractThe purposes of this research are 1) To analyze behaviors that influence the chronic low back pain of graphic designers 2. Develop a prototype video for chronic low back pain prevention and treatment of the target group 3. Evaluate the prototype video according to the design thinking approach. The samples of this study are all 28 graphic designers of a private company. It is a purposive sampling. Four of the 28 graphic designers had chronic low back pain and were selected for further study. This research emphasizes understanding the cause, preventive method, and basic self-treatment before seeing the doctor of the four graphic designers. In doing so, the researcher develops a prototype video with the consultancy of an expert in physical therapy and an expert in media design, the researcher develops a prototype video for the prevention and treatment of chronic low-back pain. The making of this prototype video is based on the five steps of the design thinking framework: 1. Understanding 2. Identification of the problems 3. Brainstorming 4. Prototype creation 5. Test and evaluation. After all, four graphic designers who suffered from chronic low-back pain had seen the prototype video and practiced self-treatment, the researcher evaluated the effectiveness and satisfaction of the techniques shown in the video. According to the rating scale questionnaire concerning pain-level of 1-10, the average decrease is 3.75 from 7.25 and the level of significance at (p = .005). As for the level of prototype video satisfaction from the 1-5 rating scale of six items the average satisfaction is 4.87 with the level of significance at (p = .005). The researcher interviewed four samples for their suggestions concerning the possible improvement of the prototype video one sample suggested that there should be more written explanation. Another sample suggested that techniques for the prevention and treatment of upper back pain should be added to the video.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติด้วยตนเองในการวินิจฉัยและรักษาอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังโดยใช้การคิดเชิงออกแบบen_US
dc.title.alternativeDevelopment of self-practice guidelines in diagnosis and treatment of chronic low back pain using design thinkingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashปวดหลัง-
thailis.controlvocab.thashหลัง -- โรค-
thailis.controlvocab.thashหลัง -- โรค -- การวินิจฉัย-
thailis.controlvocab.thashหลัง -- โรค-- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashความเจ็บปวดเรื้อรัง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์ปัญหาเพื่อระบุพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบต่ออาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังของกราฟิกดีไซน์เนอร์ 2.พัฒนาต้นแบบในการป้องกันและบรรเทาอาการปวดหลังเรื้อรังส่วนล่างให้กลุ่มเป้าหมาย 3. ประเมินประสิทธิผลของต้นแบบตามการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ พนักงานกราฟิกดีไซน์เนอร์ทั้งหมดของบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง จำนวน 28 คน เป็นการคัดเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง ตัวอย่างทั้งหมดถูกคัดเลือกเฉพาะบุคคลที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังเหลือจำนวน 4 คน งานวิจัยนี้ มุ่งเน้นให้พนักงานกราฟิกดีไซน์เนอร์ที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างทั้ง 4 คน เข้าใจต้นเหตุ วิธีการป้องกัน และการรักษาตนเองเบื้องต้นก่อนไปพบแพทย์ เพื่อการนี้ผู้วิจัยได้พัฒนาวิดีโอต้นแบบ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านกายภาพบำบัดและผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบสื่อเป็นผู้ให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนาต้นแบบที่จะทำให้เข้าใจต้นเหตุและวิธีการป้องกันรักษาออกมาเป็นวิดีโอการป้องกันหรือบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง โดยดำเนินการตามกรอบทฤษฎีการคิดเชิงออกแบบ 5 ขั้นตอน 1.การทำความเข้าใจ 2.การระบุปัญหา 3.การวางแผนระดมความคิด 4.การสร้างต้นแบบ 5.การทดสอบและการประเมิน หลังจากตัวอย่าง 4 คน ได้ดูวิดีโอต้นแบบและทดลองปฏิบัติระยะเวลา 1 เดือน ผู้วิจัยได้ทำการประเมินผลก่อน-หลังดูวิดีโอ โดยใช้ 1. แบบประเมินระดับความเจ็บปวดช่วงคะแนน 1-10 พบว่า มีอาการที่บาดเจ็บที่ลดลงเหลือ 3.75 จากก่อนดูวิดีโออยู่ที่ 7.25 และมีค่านัยความสำคัญทางสถิติที่ (p = .005) 2. แบบประเมินผลประเมินความพึงใจวิดีโอต้นแบบ 6 ข้อ พบว่ามีความพอใจเฉลี่ย 4.87 ของคะแนน 1-5 โดยมีค่านัยสำคัญทางสถิติที่ (p = .005) 3. การสัมภาษณ์เพื่อถามข้อแนะนำในการปรับปรุงวิดีโอต้นแบบ มีข้อแนะนำสำคัญคือ วิดีโอต้นแบบควรมีคำบรรยายประกอบเป็นตัวหนังสือเพิ่มขึ้น และควรเพิ่มวิธีการป้องกันและบำบัดการปวดหลังหลังส่วนบนด้วยen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622132027 - นพพร สินสวัสดิ์.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.