Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิระ สมนาม-
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.authorเฉิน, ซันen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T07:34:08Z-
dc.date.available2024-07-28T07:34:08Z-
dc.date.issued2567-04-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79894-
dc.description.abstractThere are three objectives in this research: 1) To examine students' Chinese speaking abilities using metacognitive strategies (pre- and post-test); 2) To examine and investigate the use of metacognitive strategies by students after learning with metacognitive strategies; 3) To examine the students' satisfaction with learning management using metacognitive strategies on teaching Chinese speaking skills. This research adopted a sample group of 36 middle school students learning Chinese as a foreign language from Sacred Heart College Chiang Mai Province, 17 of them are 2nd grade students and 19 students are 3rd grade. The data in this study was collected at the second semester of 2022. The tools used in the research were: 1) Five Chinese teaching plans to develop students’ speaking skills by using metacognitive strategies; 2) Learning achievement test for evaluating Chinese speaking skills before and after the experiment; 3) Five-scale rating assessment of students' satisfaction with 15 items. Research results are analyzed by using mean (M) standard deviation (S.D.) and paired samples T test. The results showed that post-test mean score (M=13.25) of the Chinese speaking skills for students improved compared to the pre-test mean score (M=11.58) and there was a significant difference (p<0.01) which indicates that metacognitive strategies have a positive effect on the development of students' Chinese speaking skills. In addition, students' overall level of satisfaction with teaching Chinese speaking skills by using metacognitive strategies is at extremely satisfied level. (x ̅= 4.42, S.D. = 0.58) en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกลยุทธ์อภิปัญญาen_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์อภิปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeMetacognitive strategies learning management to develop Chinese speaking skills for secondary school students learning Chinese as a foreign languageen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนพระหฤทัย-
thailis.controlvocab.thashภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashภาษาจีน -- การพูด-
thailis.controlvocab.thashภาษาจีน -- การใช้ภาษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์อภิปัญญา 2) เพื่อศึกษาการใช้กลยุทธ์อภิปัญญาของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์อภิปัญญา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์อภิปัญญา การวิจัยครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 36 คน จำแนกเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 17 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 19 คน ซึ่งเป็นนักเรียนที่เรียนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศของโรงเรียนพระหฤทัย จังหวัดเชียงใหม่ ในภาคเรียนที่ 2/2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนเพื่อพัฒนาทักษะทางการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศโดยใช้กลยุทธ์อภิปัญญา จำนวน 5 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ซึ่งใช้วัดทักษะการพูดภาษาจีนก่อนและหลังการทดลอง 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์อภิปัญญา ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับจำนวน 15 ข้อ วิเคราะห์ผลการวิจัยโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที่ไม่เป็นอิสระ ผลการวิจัยพบว่าคะแนนค่าเฉลี่ยหลังเรียน (M=13.25) ของทักษะการพูดภาษาจีนสำหรับนักเรียนได้ดีขึ้นเมื่อเทียบกับคะแนนค่าเฉลี่ยก่อนเรียน (M=11.58) และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งบ่งชี้ว่ากลยุทธ์อภิปัญญามีผลเชิงบวกต่อการพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียน นอกจากนี้ นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนภาษาจีนโดยใช้กลยุทธ์อภิปัญญาโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅= 4.42, S.D. = 0.58)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640231006-Chen Sun.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.