Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79871
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sayan Panma | - |
dc.contributor.advisor | Piyashat Sripratak | - |
dc.contributor.author | Pichaya Kankonsue | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-24T17:21:04Z | - |
dc.date.available | 2024-07-24T17:21:04Z | - |
dc.date.issued | 2024-06-13 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79871 | - |
dc.description.abstract | Instant Insanity is a puzzle of four cubes where each face of each cube is colored with one of the four colors. The objective of Instant Insanity is to arrange the four cubes in a stack, so that for each of their four long sides (front, back, left and right), each color appears exactly once. In this research, we propose a new puzzle called the 4-colored 5-cube puzzle, which consists of five cubes: the first four cubes are the original cubes from Instant Insanity, and the fifth cube is a copy of one of the four cubes. This puzzle aims to stack the original four cubes and attach the last cube to a face of one of those cubes, forming a structure called a tower, in which each color appears exactly once vertically and horizontally on each side (front, back, left and right). To solve the puzzle, we apply graph theory to construct graphs that represent the arrangement of a tower. We demonstrate all ways of arranging the cubes to solve the puzzle. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Instant Insanity | en_US |
dc.title | Solving a 4-colored 5-cube puzzle by graph theory | en_US |
dc.title.alternative | การแก้ปริศนา 5 ลูกบาศก์ 4 สีโดยทฤษฎีกราฟ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Graph theory | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Puzzles | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cube | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อินสแตนต์ อินซานิที (Instant Insanity) เป็นปริศนาที่มีลูกบาศก์ 4 ลูก โดยมีสีที่ระบายในแต่ละหน้าทั้งหมด 4 สี ซึ่งแต่ละหน้าจะระบายสีเพียง 1 สีเท่านั้น โดยจุดประสงค์ของปริศนาอินสแตนต์ อินซานิที คือ จัดเรียงลูกบาศก์ในแนวตั้งโดยในด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวา จะปรากฏสีของหน้าลูกบาศก์แต่ละสีเพียง 1 ครั้งเท่านั้น ในงานวิจัยนี้นำเสนอปริศนาใหม่ที่มีลูกบาศก์ 5 ลูก โดยที่ลูกบาศก์ลูกที่ 1-4 คือลูกบาศก์ที่มีรูปแบบการระบายสีเหมือนกับปริศนาอินสแตนต์ อินซานิที และลูกบาศก์ลูกสุดท้าย คือลูกบาศก์ที่มีรูปแบบการระบายสีเหมือนกับหนึ่งในลูกบาศก์ 4 ลูกแรก โดยจะเรียกปริศนาใหม่ว่า ปริศนา 5 ลูกบาศก์ 4 สี โดยจุดประสงค์ของปริศนานี้ คือ จัดเรียงลูกบาศก์ 4 ลูกที่มีรูปแบบการระบายสีเหมือนกับปริศนาอินสแตนต์ อินซานิที ในแนวตั้ง และสร้างทาวเวอร์ (Tower) โดยการวางลูกบาศก์ลูกสุดท้ายกับหน้าของลูกบาศก์ 4 ลูกแรก ซึ่งจะปรากฏสีแต่ละสีเพียง 1 ครั้งเท่านั้นในแนวตั้งและแนวนอน ของด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวาของทาวเวอร์ การวิจัยนี้ได้กำหนดแนวทางการแก้ปริศนาโดยใช้ทฤษฎีกราฟในการสร้างกราฟเพื่อจัดเรียงทาวเวอร์ และแสดงวิธีการจัดเรียงลูกบาศก์ทั้งหมดเพื่อแก้ปริศนานี้ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640531068-Pichaya Kankonsue.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.