Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPisaisit Chaijareenont-
dc.contributor.authorPassorn Boontherawaraen_US
dc.date.accessioned2024-07-24T00:54:44Z-
dc.date.available2024-07-24T00:54:44Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79855-
dc.description.abstractThe accuracy fit of the denture is one of the most important factors in the success of metal removable partial dentures. Conventional casting metal framework fabrication usually results in more distortion of frameworks in deep palatal vault patients. Recently, the development of 3D-printing technology has improved the accuracy of the metal frameworks. Thus, the objective of this research is to help dentists decide the most appropriate treatment process to construct the framework of the 3D-printing method, which is an acceptable procedure compared with the conventional method in two different palatal vault groups: moderate palate and deep palate. The results of the study found that the metal frameworks in the SLM group provide the best accuracy fit in the deep palate group. In the deep palate, the average result of SLM was 0.092 ±0.023 mm and was significantly different from the CON group and the PPC group. In medium palate, all the CON group, the PPC group, and the SLM group were not significantly different. The CON groups for metal framework fabrication had a significantly different gap when comparing the medium and deep palate groups. Therefore, it can be concluded that the depth of the palate affects the fit of the metal framework in the conventional casting process. However, the selective laser melting method can provide the best accuracy for the deep palate patient.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleComparing the trueness of 3D printing and conventional casting for removable partial denture metal framework fabrication in different palatal vault depthsen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบความแม่นยำของการพิมพ์ 3 มิติและการเหวี่ยงแบบดั้งเดิมสำหรับการสร้างโครงโลหะฟันเทียมบางส่วนถอดได้ในความลึกของเพดานปากที่แตกต่างกันen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDentures-
thailis.controlvocab.lcshProsthodontics-
thailis.controlvocab.lcshDental technology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความแนบสนิทของฟันเทียมนั้นเป็นปัจจัยหนึ่งต่อความสำเร็จของงานฟันเทียมบางส่วนแบบถอดได้โครงโลหะ การขึ้นรูปโครงโลหะแบบดั้งเดิมในคนไข้เพดานปากลึกมาก มักจะเกิดการบิดเบี้ยวของโครงโลหะที่มากขึ้น จึงมีวัตถุประสงค์คือ วิธีการพิมพ์โครงโลหะ 3 มิติ เป็นขั้นตอนที่ยอมรับได้หรือไม่ เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบดั้งเดิมในผู้ป่วยเพดานปากที่แตกต่างกันใน 2 กลุ่ม คือเพดานปากลึกปานกลางและมาก ผลของการศึกษาพบว่า การพิมพ์โครงโลหะด้วยวิธีการหลอมละลายโลหะด้วยเลเซอร์ที่เลือกนั้น ให้ความแนบสนิทดีที่สุดในกลุ่มเพดานปากลึกระดับมาก มีช่องว่างระหว่างโครงโลหะกับโมเดลที่น้อยที่สุด โดยค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.092 ±0.023 มิลลิเมตร และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากวิธีดั้งเดิมและวิธีวิธีการพิมพ์ขี้ผึ้งต่อด้วยการเหวี่ยงแบบดั้งเดิม แต่ในกลุ่มของเพาดานปากลึกระดับปานกลางนั้น ทั้งวิธีดั้งเดิม, วิธีการพิมพ์ขี้ผึ้งต่อด้วยการเหวี่ยงแบบดั้งเดิมและวิธีการหลอมละลายโลหะด้วยเลเซอร์ที่เลือกนั้น ให้ผลที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยในเรื่องของปัจจัยวิธีการขึ้นรูปนั้น มีเพียงวิธีการขึ้นรูปแบบดั้งเดิมเท่านั้นที่ให้ค่าความแนบสนิทของโครงโลหะที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบระหว่างกลุ่มเพดานปากลึกระดับปานกลางกับลึกระดับมาก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ความลึกของเพดานปากส่งผลต่อความแนบสนิทของโครงโลหะฟันเทียมบางส่วนถอดได้ที่ขึ้นรูปด้วยวิธีแบบดั้งเดิม โดยในกลุ่มเพดานปากลึกระดับปานกลางนั้น ทุกวิธีการขึ้นรูปให้ผลความแนบสนิทที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ในกลุ่มเพดานปากลึกระดับมาก การขึ้นรูปด้วยวิธีการหลอมละลายโลหะด้วยเลเซอร์ที่เลือกนั้นให้ผลที่ดีที่สุดen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640931018 Passorn Boontherawara.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.