Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorภคภัททิก์ พุ่มพวงen_US
dc.date.accessioned2024-07-24T00:38:16Z-
dc.date.available2024-07-24T00:38:16Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79852-
dc.description.abstractThe objective of this research are 1) to study the current condition, desired condition, and needs for managing toward the excellence of the Doi Kaeo Community Learning Center, Chom Thong District, Chiang Mai Province; 2) to study on best practices in managing towards excellence at community learning centers; and 3) to develop and examine the Guidelines for Managing toward the Excellence of the Doi Kaeo Community Learning Center, Chom Thong District, Chiang Mai Province. The process of this study has divided into 3 steps including was the chairperson, vice-chairperson, and committee members totaling 102 people, 5 experts, and 15 qualified individuals, total 122 people. Research tools include questionnaires, structured interviews, group discussion recording forms, and checklists. The statistics used for data analysis include mean, standard deviation, frequency, Priority Need of Index, and inferential summary analysis. From the study, the needs of managing toward the excellence of the Doi Kaeo Community Learning Center, Chom Thong District, Chiang Mai Province, were respectively sorted descending order of needs as 1) Human Resource management 2) Money management 3) Management and 4) Resource management. The study of best practices in managing towards excellence at community learning centers has found the Learning Center 's management team, consisting of the chairperson, vice-chairperson, and committee members, demonstrates clear delegation of authority and establishment of working groups, showing willingness to take responsibility in various aspects with a structured management system to ensure the effective operation of the learning center, meeting community needs appropriately. There is collaborative analysis of learners' needs, contextual factors, and trends in community learning center management, aiming for higher levels of excellence in the future. The outcome on drafting the Guidelines for Managing toward the Excellence of the Doi Kaeo Community Learning Center, Chom Thong District, Chiang Mai Province has provide the framworks which are 1) the principal 2) the objectives 3) the operational methods 4) the measurement 5) the conditions of success. In the same vein, The auditing result of the guideline quality showed that accurate, appropriate, feasibility and usefulness was in the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for managing toward the excellence of the Doi Kaeo Community Learning Center, Chom Thong District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashศูนย์การเรียนรู้ชุมชน-
thailis.controlvocab.thashชุมชน -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashชุมชน -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashชุมชน -- จอมทอง (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาวิธีการปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชน และ 3) เพื่อจัดทำและตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทางการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์ การเรียนรู้ชุมชนตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอนตามวัตถุประสงค์ ประชากรและกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประธาน รองประธาน และกรรมการ จำนวน 102 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบตรวจสอบ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความถี่ เรียงลำดับ และการสังเคราะห์ประเด็นโดยสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อเรียงลำดับจากมากไปน้อย พบว่า ลำดับแรก คือ ด้านการบริหารบุคคล ลำดับที่ 2 ด้านการบริหารงบประมาณ ลำดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการ และลำดับสุดท้ายคือ ด้านการบริหารทรัพยากร ผลการศึกษาวิธีการปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชน พบว่า ประธาน รองประธาน และกรรมการมีการกระจายอำนาจและการจัดตั้งคณะทำงาน ให้มีความชัดเจนและมีความเต็มใจในการรับผิดชอบด้านต่าง ๆ โดยมีโครงสร้างการบริหารที่เป็นรูปธรรม เพื่อการรับประกันการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้มีประสิทธิผลและตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนได้อย่างเหมาะสม มีการร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน สภาพบริบทและแนวโน้มของการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในระดับที่สูงขึ้นในอนาคต แนวทางการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีการดำเนินงาน 4) การวัดและประเมินผล และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จ มีผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้านen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650231012 ภคภัททิก์ พุ่มพวง.pdf15.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.