Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChalongdej Kupanumat-
dc.contributor.advisorTipawan Thungmhungmee-
dc.contributor.advisorSugree Gasorngatsara-
dc.contributor.authorChakkrit Chimnoken_US
dc.date.accessioned2024-07-24T00:31:34Z-
dc.date.available2024-07-24T00:31:34Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79851-
dc.description.abstractThe dissertation title: Dae Paw Thoo Sculpture for Forest Conservation Awareness in the field of Art and Design aims to study the cultural context and lifestyle of Pakakayo people in northern Thailand. The aspects of history, concepts, ideas, and beliefs in natural conservation and environment. The literature reviews, theories, and research in the context of related artworks to issue 1. Dae Paw Thoo 2. 37 Spirits 3. the rotating farm and 4. Pakakayo’s weaving machines were studied. For data processing analysis then proceeded for synthesis and applied to the integration of Pakakayo's were defined as a concept of bamboo weaving technique to create the sculpture, Dae Paw Thoo: Sculpture for forest conservation awareness to stimulate the awareness of natural environment protection, and presented as descriptive pattern. The research findings are found that; 1) Culture The lifestyle, belief system, and religious system of Pakakayo ethnic group in northern Thailand closely link people in the society, and they still exist in the consciousness of Pakakayo ethnic group through rituals, which the relationship between man, nature, and supernatural, thus maintaining the concept of lifestyle, belief, respect and protection of nature and environment.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDae Paw Thoo: Sculpture for awareness and conservation of the foresten_US
dc.title.alternativeเดปอทู : ประติมากรรมสำนึกรักษ์ป่าen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSculpture -- -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshForest conservation-
thailis.controlvocab.lcshKaren (Southeast Asian people) -- Thailand, Northern-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาศิลปะและการออกแบบ เรื่อง เดปอทู : ประติมากรรมสำนึกForest conservation) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบริบทวัฒนธรรม วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ทั้งในด้านประวัติความเป็นมา แนวคิด ความคิดความเชื่อในการอนุรักษ์รักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎี งานวิจัยและผลงานศิลปะที่เกี่ยวข้อง ในบริบทที่เกี่ยวกับ ประเด็น 1. เดปอทู 2.ขวัญ 37 ขวัญ 3. ไร่หมุนเวียน และ 4. เครื่องจักสานของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ แล้วนำมาวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล และนำมาสังเคราะห์ และนำมาบูรณาการผสมผสานกำหนดเป็นแนวความคิด และเทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “เดปอทู : ประติมากรรมสำนึกรักษ์ป่า” กระตุ้นจิตสำนึกการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ นำเสนอในรูปแบบพรรณาและข้อเสนอผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ จากผลการศึกษาพบว่า 1) วัฒนธรรม วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ระบบความเชื่อ ศาสนา ยึดโยงผู้คนในสังคมเข้าด้วยกัน โดยการพึ่งพาอาศัยกัน ยังคงอยู่ในสำนึกของชาวปกาเกอะญอ พิธีกรรมบางส่วนมีความสัมพันธ์ระหว่างคน ธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ จึงทำให้คงวิถีชีวิต ความคิดความเชื่อในการเคารพ อนุรักษ์รักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) ผู้ศึกษาได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมจากวัสดุธรรมชาติ ได้แก่ไม้ไผ่ เพื่อสะท้อนความเชื่อ แนวคิดในการดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ปกา 3) เกอะญอ ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์ ธรรมชาติ และ สิ่งเหนือธรรมชาติ ในการเป็นสื่อกลางที่จะทำให้ผู้ชมเกิดการรับรู้ ตระหนักถึงการ อนุรักษ์ รักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดการส่งผลให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้ให้แก่เยาวชน และผู้ที่สนใจ โดยผลงาน“เดปอทู : ประติมากรรมสำนึกรักษ์ป่า” มีทั้งหมด 3 ชุด ใช้ไม้ไผ่เป็นวัสดุหลัก ในการสานสร้างสรรค์ประติมากรรมขนาดใหญ่ ชุดที่ 1 ชื่อผลงาน เดปอทู จำนวน 5 ชิ้น ชุดที่ 2 ชื่อผลงาน สายสัมพันธ์คน-ป่า และชุดที่ 3 ชื่อผลงาน เมล็ดพันธุ์จิตวิญญาณ จัดแสดงเผยแพร่ผลงานศิลปดุษฎีนิพนธ์ในนิทรรศการ “เดปอทู : ประติมากรรมสำนึกรักษ์ป่า” รวมถึงการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปกาเกอะญอ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ณ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610352007-CHAKKRIT CHIMNOK.pdf31.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.