Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChalongdej Kupanumat-
dc.contributor.advisorTipawan Thungmhungmee-
dc.contributor.advisorKorakot Jairak-
dc.contributor.authorSumet Chanpenen_US
dc.date.accessioned2024-07-23T00:35:10Z-
dc.date.available2024-07-23T00:35:10Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79840-
dc.description.abstractA study of "SALAKYOM : New Imaginary Images Towards Contemporary Art" aims to 1) explore the context of SALAKYOM, encompassing its historical background, oral narratives, philosophical ideas, beliefs, patterns, and current circumstances; 2) utilize the knowledge gained from researching SALAKYOM as a source of inspiration for creating contemporary art, in order to reflect the cultural values inherent within the tradition. This involves studying documents, ideas, theories, research works, and related artworks within the historical, narrative, belief, and structural contexts of SALAKYOM. The research area encompasses Rim Ping and Pratu Pa sub-districts, as well as dye lottery events held at Wat Phra That Hariphunchai in Lamphun province. The gathered data will be analyzed and synthesized to establish concepts and techniques for creating contemporary art, presented in the form of narratives and proposals for innovative artistic creations. The findings suggest that 1) SALAKYOM plays a significant role within various communities in Lamphun province. Initially, it was a tradition specifically for young Thai women. However, with the globalization of cultural trends, it has transformed into a commodity that fosters connections among people. Presently, it has become a province-wide tradition promoted for tourism, making it known to people outside the community. This tradition promotes inclusivity among individuals of all genders and ages while preserving cultural values and aspects of the tradition. Moreover, it incorporates Buddhist principles and beliefs to link with contemporary activities. 2) The researcher has created contemporary art inspired by the beliefs associated with the Sak Yom tradition to reflect its cultural values, both in terms of Buddhism and the belief that the merit earned by Thai Yong women who offer a Sak Yom tree is equivalent to that earned by men who are ordained. This work also includes participation in the new area of the Sak Yom tradition, which is the world's only Sak Yom festival. Using computer techniques, the audience is provided with an aesthetic experience and access to the imaginative scenes recreated in 3D. The creation of this contemporary art has led to the observation of the relationship between the artworks and the audience. This relationship arises from the complex forms and spatial divisions of the different sets of works, which, while distinct, are interconnected and integrate the entire narrative. These efforts aim to reflect the same values and content, ultimately allowing the audience to understand and create experiences from interpreting the artworks through their connections. This results in the formation of what is known as intertextuality. The outcomes of this can extend to further creative work, the development of innovative media formats, and the dissemination of modern media to create aesthetic experiences and communicate with future audiences.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSalakyom : New imaginary images towards contemporary arten_US
dc.title.alternativeสลากย้อม : จินตภาพใหม่สู่ศิลปะร่วมสมัยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSalakyom-
thailis.controlvocab.lcshLamphun -- Manners and customs-
thailis.controlvocab.lcshArt, Modern -- Lamphun-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาสลากย้อม : จินตภาพใหม่สู่ศิลปะร่วมสมัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทของประเพณีสลากย้อม ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมา ตำนานเรื่องเล่า และแนวความคิด คติความเชื่อ รูปแบบและสภาวะการณ์ปัจจุบันของประเพณีสลากย้อม 2) เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีสลากย้อมมาเป็นแรงบันดาลใจสู่การสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย เพื่อสะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรมภายในประเพณีสลากย้อม โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย และผลงานศิลปะที่เกี่ยวข้อง ในบริบทที่เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา ตำนานเรื่องเล่า คติความเชื่อ ตลอดจนรูปแบบของประเพณีสลากย้อม พื้นที่วิจัยคือตำบลริมปิง ตำบลประตูป่า และงานประเพณีสลากย้อมที่จัดขึ้นภายในวัดพระธาตุหริภุญไชยจังหวัดลำพูน เพื่อนำมาวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล และนำมาสังเคราะห์ กำหนดเป็นแนวความคิด และเทคนิคในการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมสมัย นำเสนอในรูปแบบพรรณนาและข้อเสนอผลงานสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย จากผลการศึกษาพบว่า 1) ประเพณีสลากย้อมมีบทบาทสำคัญต่อชุมชนต่างๆ ภายใน จังหวัดลำพูนนั้น ตั้งแต่ในอดีตเป็นประเพณีเฉพาะหญิงสาวชาวไทยอง แต่ด้วยโลกของทุนนิยมวัฒนธรรมถูกปรับเปลี่ยนกลายเป็นสินค้าสร้างความเชื่อมโยงกับผู้คน ปัจจุบันเป็นประเพณีประจำจังหวัดส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักของผู้คนภายนอกชุมชน สร้างการมีส่วนร่วมของบุคคลทุกเพศทุกวัย โดยยังคงคุณค่าทางวัฒนธรรมและบทบาทประเพณีส่วนหนึ่งไว้ และใช้หลักคุณค่าทางพุทธศาสนา ความศรัทธา มาเชื่อมโยงกับกิจกรรมตามยุคสมัยใหม่ 2) ผู้ศึกษาได้สร้างสรรค์งานศิลปะร่วมสมัยจากคติความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีสลากย้อม เพื่อสะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรม ทั้งทางพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องหญิงสาวไทยองกับการถวายต้นสลากย้อมได้บุญกุศลเทียบเท่าชายบวช รวมถึงการมีส่วนร่วมในพื้นที่ใหม่ของประเพณีสลากย้อมนั้นคือ เทศกาลสลากย้อมหนึ่งเดียวในโลก ด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์ ให้ผู้ชมได้รับสุนทรียภาพและเข้าถึงภาพจินตการของเหตุการณ์จำลองที่นำมาสร้างสรรค์ในรูปแบบสามมิติ จากการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมสมัยครั้งนี้ ได้ข้อสังเกตุคือ ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างชิ้นงานกับผู้รับชมผลงาน จากรูปแบบที่ซับซ้อนและลักษณะการแบ่งพื้นที่กับชุดผลงานที่มีความแตกต่างกัน โดยที่ยังมีความเชื่อมโยงและหล่อหลอมเรื่องราวทั้งหมด พยายามสะท้อนคุณค่าเนื้อหาเดียวกัน ทำให้ท้ายที่สุดเมื่อผู้ชมสร้างความเข้าใจและสร้างประสบการณ์จากการตีความผลงาน ผ่านการเชื่อมโยงด้วยตัวเอง ส่งผลให้เกิดการสร้างเป็นความสัมพันธ์แบบที่เรียกว่าสัมพันธบทขึ้นมา ผลที่ได้สามารถต่อยอดการสร้างสรรค์ผลงาน การสร้างสรรค์รูปแบบสื่อนวัตกรรมใหม่ ๆ และการเผยแพร่สื่อสมัยใหม่เพื่อสร้างสุนทรียะภาพ เพื่อสื่อสารกับผู้รับสารต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610352012-SUMET CHANPEN.pdf16.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.