Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79827
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Tippawan Thangmhungmee | - |
dc.contributor.advisor | Chalongdej Kuphanumat | - |
dc.contributor.advisor | Sugree Gasorngatsara | - |
dc.contributor.author | Pakawad Budsri | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-20T03:03:20Z | - |
dc.date.available | 2024-07-20T03:03:20Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79827 | - |
dc.description.abstract | This dissertation aims to: 1) Study the context of mural paintings in the Lai Kam Sanctuary at Phra Singh Temple, focusing on their history, stories, concepts, styles, techniques, composition, and identity of Lanna paintings, specifically the story of Sang Thong. 2) Create a 3D animation by synthesizing the knowledge gained from studying the mural paintings in the Lai Kam Sanctuary at Phra Singh Temple, using it as inspiration to create contemporary art. This is a creative art research. The researcher has studied related theories, research, and works of relevant artists, selecting the mural painting of the Sang Thong story as the research framework. Key informants are 4 experts and academics selected through a structured and specific method. The research tools used are: 1) observation, 2) note-taking, 3) photography, and 4) interviews. Data were analyzed using descriptive writing. The study results for the first objective reveal that the identity of the mural paintings in the Lai Kam Sanctuary depicting the Sang Thong story arises from the integration of styles from Siam, Burma, China, and local Chiang Mai elements, creatively imagined to produce distinctive characteristics. For the second objective, the exhibition of contemporary art created from this study fosters learning and extends existing knowledge. It connects with the perception context of modern viewers by utilizing new media technology, allowing them to perceive the identity and aesthetics of Lanna paintings. The knowledge from this research will benefit those interested in Lanna painting and the creation of mixed media art using 3D animation techniques. It serves as an inspiration for further development and dissemination of Lanna painting identity to a wider audience. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Imaginary images from mural paintings in Lai Kam Sanctuary, Phra Singh Temple towards the creation of 3D animation | en_US |
dc.title.alternative | จินตภาพจากจิตรกรรมวิหารลายคำ วัดพระสิงห์สู่การสร้างสรรค์สื่อแอนิเมชัน 3 มิติ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Mural painting and decoration | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Animation (Cinematography) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | 3D Studio Max (Computer programs) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Phra Singh Temple | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทของจิตรกรรมฝาผนังในวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เรื่องราวและแนวคิด รูปแบบ เทคนิค องค์ประกอบ และอัตลักษณ์งานจิตรกรรมล้านนา เฉพาะภาพเรื่องสังข์ทอง 2) เพื่อสร้างสรรค์สื่อแอนิเมชัน 3 มิติ โดยสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษางานจิตรกรรมฝาผนังในวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ มาเป็นแรงบันดาลใจสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ศิลปะ ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎี งานวิจัยและผลงานของศิลปินที่เกี่ยวข้อง โดยเลือกงานจิตรกรรมฝั่งภาพเรื่องสังข์ทองมาเป็นกรอบการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่และนักวิชาการ จำนวน 4 ท่าน ใช้วิธีคัดเลือกแบบมีโครงสร้างและเจาะจงรายบุคคล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ 1) การสังเกตการณ์ 2) การจดบันทึก 3) การบันทึกภาพ 4)การสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 พบว่า อัตลักษณ์งานจิตรกรรมวิหารลายคำ ฝั่งภาพเรื่องสังข์ทอง เกิดจากการผสมผสานรูปแบบจากสยาม พม่า จีน และความเป็นพื้นบ้านของเชียงใหม่ สร้างสรรค์ด้วยจินตนาการ ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ข้อที่ 2 นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ และต่อยอดองค์ความรู้เดิม เชื่อมโยงกับบริบทการรับรู้สื่อของผู้ชมยุคปัจจุบัน โดยใช้เทคโนโลยีสื่อใหม่ ให้ผู้ชมได้รับรู้ถึงอัตลักษณ์ สุนทรียะของงานจิตรกรรมล้านนา องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจงานด้านจิตรกรรมล้านนา และการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสมด้วยเทคนิคงานแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อใช้เป็นแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาต่อยอด เผยแพร่อัตลักษณ์ของงานจิตรกรรมล้านนา ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | FINEARTS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610352011-PAKAWAD BUDSRI.pdf | Imaginary Images from Mural Paintings in Lai Kam Sanctuary, Phra Singh Temple Towards the Creation of 3D Animation | 20.11 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.