Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuwimon Udphuay-
dc.contributor.authorSriwong Boonprakomen_US
dc.date.accessioned2024-07-19T09:41:42Z-
dc.date.available2024-07-19T09:41:42Z-
dc.date.issued2024-05-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79821-
dc.description.abstractThis study employed ground-penetrating radar (GPR) to investigate the existence of the walls of Wiang Kaew Palace within the urban setting of Chiang Mai City Moat, Thailand. The 1893 old Chiang Mai City map precisely delineates the presence and locations of the ancient palace. In 2018, archaeologists unearthed parts of the buried remnants of Wiang Kaew Palace walls inside the Former Woman Correctional Institute. However, other sections of the Wiang Kaew wall in the surrounding area remain undiscovered. According to the fact that GPR is a non-destructive geophysical method, the PulseEKKO® system, using frequencies of 250- and 500-MHz antenna, was employed to further investigate the hidden remnants of the Wiang Kaew Palace walls. Easily accessible areas were chosen and included in the investigation. The GPR surveys were performed using a grid system. The radar data were affected by noise from rebar, a moist soil zone, and a drainage system. The GPR data underwent standard data processing stages and the wall structure was interpreted based on various characteristics including depth, width, continuity, diffraction, and planar reflection. The attribute analysis tool, envelope, was utilized to improve the migrated data to figure out the depths, widths, and thickness of the buried targets. Amplitude depth slices and isosurfaces were created using the envelope data to interpret and visualize the wall structure, in addition to the GPR sections. The GPR data reveals the presence of sections of the walls of Wiang Kaew Palace in three parts: the south wall, the front wall, and the north wall. Other attributes such as instantaneous phase, instantaneous frequency, instantaneous bandwidth, and similarity are partially associated with section interpretation in this work. Results from GPR depth slices, isosurfaces, unmigrated sections, envelope sections, and attribute analysis support the possibility of having archaeological structures of Wiang Kaew Palace. Twenty anomalies may be involved with the palace walls: four anomalies for the south wall, ten anomalies for the front wall, and six anomalies for the north wall. The depiction of possible locations of the walls of Wiang Kaew Palace from this study provide valuable information in the fields of Chiang Mai urban planning, as well as archaeological preservation and excavation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleArchaeological investigation by ground penetrating radar at Wiang Kaew site in Chiang Mai city moat, Thailanden_US
dc.title.alternativeการสำรวจทางโบราณคดีด้วยเรดาร์ทะลุผ่านพื้นดินบริเวณสถานที่ตั้งเวียงแก้วในคูเมืองเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshRadar in geodesy-
thailis.controlvocab.lcshArchaeological surveying-
thailis.controlvocab.lcshArchaeology -- Methodology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ใช้เรดาร์ทะลุผ่านพื้นดินเพื่อตรวจสอบการมีอยู่ของกำแพงพระราชวังเวียงแก้วในบริเวณคูเมืองเชียงใหม่ แผนที่เมืองเชียงใหม่โบราณปี 2436 ระบุที่ตั้งและขอบเขตของพระราชวังโบราณอย่างชัดเจนในปี 2561 ขุดพบซากกำแพงพระราชวังเวียงแก้วที่ฝังอยู่ภายในทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่เดิม อย่างก็ตาม ส่วนอื่น ๆ ของแนวกำแพงพระราชวังเวียงแก้วยังคงไม่ถูกค้นพบ เนื่องจากเรดาร์ทะลุผ่านพื้นดินเป็นวิธีการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ที่ไม่ทำลายพื้นผิว ดังนั้นการศึกษานี้จึงเลือกใช้ชุดเครื่องมือเรดาร์ทะลุผ่านพื้นดินรุ่น PulseEKKO® ความถี่ 250 และ 500 เมกะเฮิรตซ์ มาใช้เพื่อค้นหาซากกำแพงที่ซ่อนอยู่ของพระราชวังเวียงแก้ว การสำรวจได้ทำในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ง่ายและดำเนินการโดยใช้ระบบกริด ข้อมูลเรดาร์ที่สำรวจได้นี้ได้รับผลกระทบจากสัญญาณรบกวนจากเหล็กเส้น โซนดินชื้น และระบบระบายน้ำ และข้อมูลได้ผ่านขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลมาตรฐาน โครงสร้างกำแพงถูกตีความตามลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ความลึก ความกว้าง ความต่อเนื่อง การเลี้ยวเบนของคลื่น และลักษณะการสะท้อนของคลื่น การวิเคราะห์คุณลักษณะชนิดเอนวีโลปได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุงโพรไฟล์เรดาร์ทะลุผ่านพื้นดินที่ผ่านขั้นตอนการย้ายที่แล้ว ให้สามารถระบุความลึก ความกว้าง และความหนาของเป้าหมายที่ฝังอยู่ มีการสร้างภาพตัดความลึกของแอมพลิจูดและพื้นผิวสามมิติ โดยใช้ข้อมูลคุณลักษณะเอนวีโลปร่วมกับภาพตัดขวางเรดาร์เพื่อใช้ในการแปลความหมายและแสดงภาพโครงสร้างแนวกำแพง ข้อมูลเรดาร์ที่ได้แสดงให้เห็นโครงสร้างแนวกำแพงทั้งหมดสามส่วน ได้แก่ กำแพงพระราชวังส่วนเหนือ กำแพงพระราชวังส่วนหน้า และกำแพงพระราชวังส่วนใต้ นอกจากนี้ยังได้ใช้ข้อมูลคุณลักษณะชนิดอื่น ๆ เช่น เฟสฉับพลัน ความถี่ฉับพลัน ความกว้างฉับพลัน และความคล้ายคลึง เพื่อช่วยแปลความหมายข้อมูลร่วมกันในบางกรณีเช่น ค่าแอมพลิจูดไม่เด่นชัด ขอบเขตของบริเวณแอมพลิจูดสูงไม่เด่นชัด และเพื่อใช้ในการยืนยันการแปลผลที่ได้จากคุณลักษณะเอนวีโลป ผลการแปลความหมายข้อมูลภาพตัดความลึก พื้นผิวสามมิติ ภาพตัดขวางเรดาร์ที่ยังไม่ผ่านขั้นตอนการย้ายที่ และการวิเคราะห์คุณลักษณะ สนับสนุนความเป็นไปได้ของการมีโครงสร้างทางโบราณคดีของพระราชวังเวียงแก้ว ในการศึกษานี้พบค่าผิดปกติจำนวน 20 บริเวณที่อาจเกี่ยวข้องกับกำแพงพระราชวัง โดยค่าผิดปกติ 4 บริเวณ สัมพันธ์กับกำแพงพระราชวังส่วนเหนือ ค่าผิดปกติ 10 บริเวณ สัมพันธ์กับกำแพงพระราชวังส่วนหน้า และ ค่าผิดปกติ 6 บริเวณ สัมพันธ์กับกำแพงพระราชวังส่วนใต้ การแสดงตำแหน่งที่เป็นไปได้ของกำแพงพระราชวังเวียงแก้วจากการศึกษานี้ให้ข้อมูลที่มีคุณค่าในด้านการวางผังเมืองเชียงใหม่ ตลอดจนการอนุรักษ์และการขุดค้นทางโบราณคดีen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640535901-SRIWONG BOONPRAKOM.pdf34.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.