Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79804
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChalongdej Kupanumat-
dc.contributor.advisorTipawan Thungmhungmee-
dc.contributor.advisorSugree Gasorngatsara-
dc.contributor.authorAmorn Thongpayongen_US
dc.date.accessioned2024-07-18T11:43:21Z-
dc.date.available2024-07-18T11:43:21Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79804-
dc.description.abstractThe thesis Doctor of Fine Art Program in Arts and Design titled “Capturing the Memory of Chiang Mai Architecture by using Printmaking” This research aims to study and document the transformation of Chiang Mai's vernacular architecture over time. It has two main objectives: first, to explore the cultural context of Chiang Mai's vernacular architecture through its changing forms and functions across different eras; and second, to create contemporary printmaking artworks that synthesize this knowledge and present it in an installation format, using the structures of Chiang Mai's vernacular architecture as a framework. This research has found that. 1. Transformation of Forms and Environments of Chiang Mai's Vernacular Architecture The research collects data to tell the story of the cultural and lifestyle changes of the city, which have gradually transformed from the past to the present, through the lens of architectural structures. This study helps to understand the diverse cultural foundations of Chiang Mai. Learning about this history will help to understand the current changes in social and cultural patterns that will affect the future. 2. Creation of Contemporary Artworks The research details the steps and processes involved in working with the forms of old architecture, selecting appropriate perspectives for composition, reflecting ideas through ฉ printmaking, stimulating emotions, and using printmaking to create new compositions. It also integrates different art forms such as digital media, street art, and graffiti and presents them through contemporary artworks. The aim is to create new and interesting knowledge, disseminate it to the general public, and help them understand the essence of the work, appreciate the value of vernacular architecture, and understand the context and culture that changes over time.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleCapturing the memory of Chiang Mai architecture by using printmaking Arten_US
dc.title.alternativeการบันทึกห้วงเวลาของสถาปัตยกรรมเมืองเชียงใหม่ผ่านศิลปะภาพพิมพ์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshArchitecture -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshVernacular architecture-
thailis.controlvocab.lcshArchitecture, Domestic-
thailis.controlvocab.lcshPrints-
thailis.controlvocab.lcshArt, Modern -- 21st century-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาศิลปะและการออกแบบเรื่องการบันทึกห้วงเวลาของสถาปัตยกรรมเมืองเชียงใหม่มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาบริบททางวัฒนธรรมของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเชียงใหม่ผ่านลักษณะรูปแบบการใช้สอยที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา 2. เพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะภาพพิมพ์โดยการสังเคราะห์องค์ความรู้สู่การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ในรูปแบบศิลปะการจัดวางผ่านโครงสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเชียงใหม่ ในการศึกษาครั้งนี้มีลักษณะงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ศิลปะ โดยมีการสืบค้นข้อมูลประวัติความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ผ่านการศึกษาภาคเอกสารการลงพื้นที่เพื่อสำรวจทางกายภาพและการสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้างโดยมีพื้นที่ทำการวิจัยคือ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผลไปสู่การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองเชียงใหม่และสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ในรูปแบบศิลปะการจัดวางผ่านโครงสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเชียงใหม่ จากการศึกษาพบว่า 1)บริบทการเปลี่ยนแปลงทางรูปแบบและสภาพแวดล้อมของโครงสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเชียงใหม่ซึ่งผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลเพื่อเล่าถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการดำเนินชีวิตของเมืองที่ค่อยๆเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการมองผ่านโครงสร้างในอดีตมาสู่ปัจจุบันการเรียนรู้และปรับตัวเข้าสู่วัฒนธรรมในปัจจุบันได้อย่างมีความเข้าใจในพื้นฐานของวัฒนธรรมที่หลากหลายของเมืองเชียงใหม่โดยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เหล่านี้จะช่วยให้เราเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบของสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบันที่ส่งผลต่อไปยังอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้นในภายหน้าอย่างมีความเข้าใจ 2) การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยในครั้งนี้มีขั้นตอนและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกันกับรูปทรงของสถาปัตยกรรมเก่าโดยคัดสรรค์มุมมองเพื่อตรงตามความต้องการในด้านองค์ประกอบที่เหมาะสมเพื่อที่จะสะท้อนแนวความคิดผ่านศิลปะภาพพิมพ์ออกมาให้ส่งผลต่อความรู้สึก และนำผลงานภาพพิมพ์มาสร้างองค์ประกอบขึ้นใหม่ผสมผสานศิลปะแขนงต่างๆ เช่น สื่อดิจิตอล (Media Art) จนไปถึง สตรีทอาร์ท (Street art ) กราฟฟิกตี้ (Graffiti) โดยอาศัยการสังเคราะห์และแสดงออกผ่านผลงานศิลปะร่วมสมัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ทำให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้นในการเผยแพร่ต่อประชาชนทั่วไปเพื่อที่จะได้เข้าถึงสาระของงานที่จะนำเสนอจนไปถึงการตระหนักต่อคุณค่าสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่เปลี่ยนบริบทและความเข้าใจต่อวัฒนธรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลาen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610352010-อมร ทองพยงค์.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.