Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79768
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สราวุธ รูปิน | - |
dc.contributor.author | ภรภัทร วังแจ่ม | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-15T10:35:22Z | - |
dc.date.available | 2024-07-15T10:35:22Z | - |
dc.date.issued | 2567-03-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79768 | - |
dc.description.abstract | This Qualitative research paper aims to study 1.) the history of Tai Yong people, including social, cultural, and economic contexts of the community in Mae Tha River Basin, Lamphun Province; 2) to study the patterns of stucco Buddha images and crafts, including creation process, and problems of craftsman groups in the area of Mae Tha River basin, Lamphun Province; and 3) to propose action plan and management methods of conservation of the cultural heritage of stucco Buddha images created by the locals of Mae Tha River Basin groups, Lamphun Province to achieve sustainable goals. It was found that the principal Buddha images of 45 temples have unique features, which are white face and body, with oval face, continued arched eyebrows, prominent nose, red lips, long ears to shoulders, small hair knots, topped with lotus-leaf structure. The Buddha images are in subduing mara pose, with the right arm put on the right knee. After 2400 B.E., this style of Buddha image was very popular in Lamphun Province, Chiang Mai Province, Lampang Province, and Nan Province, led by craftsman groups in the area of Mae Tha River basin, Lamphun Province, locally called Sala Lamphun. Management method for this kind of crafts is to promote form and process of Buddist art and craft creation through learning media, such as online books and other tools. This can stimulate and reinvigorate Buddist arts with sustainability. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Mae Tha River Basin | en_US |
dc.subject | Continuation | en_US |
dc.subject | Conservation | en_US |
dc.title | การอนุรักษ์และสืบสานงานศิลปะพื้นถิ่นลุ่มน้ำแม่ทา: กรณีศึกษาพระพุทธรูปปูนปั้นกลุ่มช่างลุ่มน้ำทา จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Conservation and continuation of local art in Mae Tha River Basin: a case study on Stucco Buddha images by Namtha Craftsman Group, Lumphun Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | พระพุทธรูป | - |
thailis.controlvocab.thash | พุทธศาสนา | - |
thailis.controlvocab.thash | ศิลปกรรมพุทธศาสนา | - |
thailis.controlvocab.thash | ลุ่มน้ำทา | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทยอง | - |
thailis.controlvocab.thash | ชาติพันธุ์วิทยา -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำพูน -- ความเป็นอยู่และประเพณี | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่องการอนุรักษ์และสืบสานงานศิลปะพื้นถิ่นลุ่มน้ำแม่ทา : กรณีศึกษาพระพุทธรูปปูนปั้นกลุ่มช่าง ลุ่มน้ำทา จังหวัดลำพูน นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติศาสตร์และประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยอง ทั้งสภาพทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของชุมชน ในเขตลุ่มน้ำทา จังหวัดลำพูน (2) เพื่อศึกษารูปแบบพระพุทธรูปปูนปั้นและ ช่างในเขตลุ่มน้ำทา ตลอดจนกรรมวิธีการสร้าง ตลอดจนและสภาพปัญหาของช่างในพื้นที่ลุ่มน้ำทา จังหวัดลำพูน และ (3) เพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการจัดการ การอนุรักษ์และสืบสานเผยแพร่มรดก ทางวัฒนธรรมพระพุทธรูปปูนปั้น พุทธศิลป์กลุ่มช่างลุ่มน้ำทา จังหวัดลำพูน ให้บรรลุเป้าหมาย ได้อย่างยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่าชุมชนลุ่มน้ำทา 45 หมู่บ้าน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ยองที่เข้ามาตั้งรกรากถิ่นฐานในลำพูน นับตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ 24 ส่วนรูปแบบพระพุทธรูปกลุ่มช่างลุ่มน้ำทา 111 องค์ นั้นมีพุทธลักษณะที่โดดเด่น คือ พระพักตร์และพระวรกายสีขาว พระพักตร์รูปไข่ พระเนตรมองต่ำ พระโขนงต่อกันเป็นปีกกา พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์บางสีแดง พระกรรณยาวลงมาเกือบถึงพระอังสา พระนาสิกโด่ง เม็ดพระศกเล็กแหลม พระอุษณีษะกลมสูง พระรัศมีทำเป็นรูปดอกบัวมีกลีบซ้อน พระหัตถ์แสดงปางมารวิชัย พระหัตถ์ขวา คว่ำวางอยู่เหนือพระชานุขวา พระหัตถ์ซ้ายหงายวางอยู่เหนือพระเพลา รูปแบบพระพุทธรูปปูนปั้นลุ่มน้ำทานี้ได้หลังปี พ.ศ. 2400 ได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วจังหวัดลำพูน เชียงใหม่ ลำปาง และน่าน โดยกลุ่มช่างลุ่มน้ำทา หรือเรียกว่า “สล่าลำพูน” รูปแบบและวิธีการจัดการงานพุทธศิลป์ลุ่มน้ำทาในครั้งนี้คือ นำองค์ความรู้ในรูปแบบและวิธีการปั้นพระพุทธรูปเป็นสื่อในการเรียนรู้งานพุทธศิลป์ลุ่มน้ำทา อาทิ หนังสือและสื่อออนไลน์สมัยใหม่ ซึ่งจะทำให้เกิดการฟื้นฟูงานพุทธศิลป์และความยั่งยืนทางการศึกษาต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | FINEARTS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620332001-ภรภัทร วังแจ่ม.pdf | 79.35 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.