Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79697
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Manad Khamkong | - |
dc.contributor.author | Hussaya Nookaew | en_US |
dc.contributor.other | Nawapon Nakharutai | - |
dc.contributor.other | Pimwarat Srikummoon | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-10T09:51:02Z | - |
dc.date.available | 2024-07-10T09:51:02Z | - |
dc.date.issued | 2024-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79697 | - |
dc.description.abstract | This thesis presents a study focusing on the parameter estimation of the Normal Inverse Gaussian distribution, a specialized instance of the generalized hyperbolic distribution extensively employed in the analysis of financial time series. Traditionally, parameter estimation has relied on the maximum likelihood method and the method of moments. However, these approaches impose constraints on the feasible domain of possible skewness and excess kurtosis values. Hence, an alternative parameter estimation method for the Normal Inverse Gaussian distribution is proposed in this study, based on the Metropolis-Hastings exponential maximum likelihood method. Additionally, the efficacy of this method will be assessed by comparing it with several other estimators, including the maximum likelihood estimator, the epsilon maximum likelihood estimator, and the exponential maximum likelihood, utilizing both simulated and real-world datasets. In the simulation part, performance evaluation will be based on criteria such as the smallest root mean square error and bias, supplemented by descriptive statistics such as means and standard deviations. For the application to real-world data, model selection will be guided by a goodness-of-fit test employing the Anderson-Darling (AD) test statistic criterion. Next, the real-data is examined the autocorrelation by using a Durbin Watson (DW) statistic test. Model selection will prioritize achieving the smallest AD value alongside the highest p-value. Furthermore, the model's performance will be evaluated through the utilization of the Akaike Information Criterion (AIC) and Bayesian Information Criterion (BIC). The method yielding the lowest AIC and BIC values is deemed optimal for parameter estimation in the Normal Inverse Gaussian distribution, particularly when analyzing bitcoin data. In the simulation results, the Metropolis-Hastings exponential maximum likelihood method consistently produced the lowest root mean square error across all scenarios. Consequently, this method is highly suitable for estimating parameters of the Normal Inverse Gaussian distribution with bitcoin data. Similarly, in practical applications, the Metropolis-Hastings exponential maximum likelihood method yielded the smallest AD value and the highest p-value, as well as the lowest AIC and BIC values. Therefore, the Metropolis-Hastings exponential maximum likelihood method proves to be the most effective approach in both simulation and application studies. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Alternative parameter estimation method for the Normal Inverse Gaussian Distribution | en_US |
dc.title.alternative | วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ทางเลือกสำหรับการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนปรกติ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Gaussian distribution | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Parameter estimation | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนปรกติ ซึ่งเป็นกรณีเฉพาะหนึ่งในการแจกแจงไฮเพอร์โบลิกทั่วไป การแจกแจงนี้นำไปใช้กันอย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลาทางเศรษฐศาสตร์และการเงิน โดยทั่วไปวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากคือ วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด แต่วิธีนี้มีข้อจำกัดในโดเมนที่เป็นไปได้ของค่าความเบ้และความโด่ง ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงเสนอวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ทางเลือกสำหรับการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนปรกติ โดยการประยุกต์วิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ และวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลัง ซึ่งเรียกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบวิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลัง นอกจากนี้การตรวจสอบประสิทธิภาพของวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์นี้จะถูกเปรียบเทียบกับวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์อื่นๆ ได้แก่ วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเอปไซลอน และวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลัง สำหรับวิทยานิพนธ์เล่มนี้จะแบ่ง การศึกษาออกเป็นสองส่วนคือ การศึกษาแบบจำลองและการศึกษาแบบประยุกต์ใช้กับข้อมูลจริง สำหรับการศึกษาแบบจำลอง ใช้ค่ารากที่สองของค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยและค่าเอนเอียงที่น้อยที่สุด เพื่อประเมินประสิทธิภาพของวิธีการประมาณค่าพารามอเตอร์แบบต่างๆ และสำหรับการประยุกต์ใช้ข้อมูลจริงการเลือกวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ จะถูกทดสอบความเหมาะสมโดยใช้สถิติทดสอบภาวะสารูปดีแบบแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิ่ง (AD) ต่อมาจะถูกตรวจสอบการเกิดสหสัมพันธ์อัตโนมัติ โดยใช้การทดสอบของเดอร์บิน-วัตสัน (DW) โดยวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ใดให้ค่า AD น้อยที่สุดและให้ค่า p-value ที่สูงที่สุด จะถือว่าเป็นวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมกับข้อมูลชุดนั้นที่สุด รวมถึงการใช้เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคแคะ (AIC) และเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์ (BIC) วิเคราะห์ร่วมด้วย ซึ่งวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์วิธีการใดให้ค่า AIC และ BIC ต่ำที่สุด วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์วิธีนั้น จะเหมาะสมที่สุดที่นำไปประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนปรกติสำหรับข้อมูลบิตคอยน์ ผลการศึกษาในส่วนของการศึกษาแบบจำลอง พบว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบวิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลังให้ค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยน้อยที่สุดในทุกสถานการณ์ เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบอื่น ดังนั้นวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบวิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลัง เป็นวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดที่นำไปประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนปรกติสำหรับข้อมูลบิตคอยน์ และสำหรับการศึกษาในส่วนของการประยุกต์ใช้กับข้อมูลจริง พบว่า วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบวิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลัง ให้ค่า AD น้อยที่สุดและให้ค่า p-value ที่สูงที่สุด รวมถึงให้ค่า AIC และ BIC ต่ำที่สุด ดังนั้น วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์แบบวิธีเมโทรโพลิส-แฮสติงส์ภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเลขชี้กำลังเป็นวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งสรุปได้ว่า ผลการศึกษาเป็นไปในทางเดียวกัน | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640531016-HUSSAYA NOOKAEW.pdf | 15.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.