Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79639
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPisaisit Chaijareenont-
dc.contributor.advisorPimduen Rungsiyakull-
dc.contributor.authorPattaraporn Yuenyongen_US
dc.date.accessioned2024-07-07T03:10:52Z-
dc.date.available2024-07-07T03:10:52Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79639-
dc.description.abstractPurpose: To compare the scanning accuracy of various scan strategies and buccal bite registration sides in distal end implant supported prostheses. Materials and methods: A 3D printed full arch dentition maxillary model and partial edentulous mandibular model replaced by dental implants with scanbodies on the left mandibular second molar, left mandibular first molar, and left mandibular second molar were prepared and subsequently mounted on an articulator. The models were then digitized using a laboratory scanner for the reference scan. Using an intraoral scanner for experimental scans. Various scan strategies were tested 10 scans per group in dataset 1, including quadrant scans starting from the scanbody (QS-S), quadrant scans starting from the natural tooth (QS-T), full arch scans starting from the scanbody (FS-S), and full arch scans starting from the natural tooth (FS-T), then saved as STL files. Dataset 2 studied different sites of buccal bite registration. The experiments were divided into 3 groups used identical maxillary and mandibular virtual models without the scanbody inserted: recording the area of interest, recording across the area of interest, and recording both sites. Each group were scanned 10 times. The accuracy of scanbody positions, comprising trueness and precision, in dataset 1 and the accuracy of Virtual Interocclusal Records (VIRs) in dataset 2 were assessed in reverse engineering software. These results were then subjected to one-way analysis of variance (α = 0.05) for statistical analysis. Results: The results regarding trueness and precision indicated no statistically significant difference in the Root Mean Square Errors (RMSEs) among all experimental groups (p<0.001). The FS-S pattern displayed both the lowest trueness (42.4±4.0 μm) and precision (16.8±2.8 μm). Furthermore, the accuracy of VIRs exhibited a significant difference among different sites (p < 0.001). The highest deviation was scanned across the area of interest (283.0±17.8 μm) Conclusions: Varying scan strategies and buccal bite registration sides impacted the scanning accuracy in distal end implants supported prostheses. Keywords: accuracy, scanbody, scan strategy, virtual interocclusal recorden_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectaccuracy, scanbody, buccal bite registration, scan strategy, virtual interocclusal recorden_US
dc.subjectความแม่นยำ , ด้านบันทึกการสบฟันข้างแก้ม , การบันทึกสบฟันเสมือนจริง, สแกนบอดี้, กลยุทธ์สแกนen_US
dc.titleComparison of scanning protocols in distal end implant supported prostheses; An in vitro studyen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบโพรโตคอลการสแกนในรากฟันเทียมรองรับฟันเทียมส่วนท้ายสุด; การศึกษาในภาวะเทียมนอกกายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDental implants-
thailis.controlvocab.lcshImplants, Artificial-
thailis.controlvocab.lcshMalocclusion-
thailis.controlvocab.lcshDentistry-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความแม่นยำในการสแกนเมื่อใช้กลยุทธ์การสแกน และ ด้านบันทึกการสบฟันข้างแก้มที่ต่างกันในกรณีรากฟันเทียมที่รองรับด้วยครอบฟันด้านท้าย วัสดุและวิธีการ: แบบจำลองพิมพ์สามมิติขากรรไกรบนที่มีฟันทั้งปากและแบบจำลองพิมพ์สามมิติขากรรไกรล่างที่ฝังรากฟันเทียมทดแทนฟันกรามน้อยล่างซ้ายซี่ที่ 2 ฟันกรามล่างซ้ายซี่ที่ 1 และฟันกรามล่างซ้ายซี่ที่ 2 ทำการติดตั้งบนกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง การทดลองประกอบด้วย กลุ่มควบคุมสแกนแบบจำลองโดยใช้เครื่องสแกนในห้องปฏิบัติการชนิดตั้งโต๊ะ และกลุ่มทดลองสแกนแบบจำลองโดยใช้เครื่องสแกนในช่องปากอันได้แก่ ชุดข้อมูลที่ 1 ทดสอบกลยุทธ์สแกนที่ต่างกัน 4 กลุ่ม สแกนเฉพาะแบบจำลองขากรรไกรล่างขณะที่มีสแกนบอดี้ได้แก่ กลุ่มที่สแกนเฉพาะจตุภาคที่มีรากฟันเทียมโดยเริ่มสแกนจากสแกนบอดี้ กลุ่มที่สแกนเฉพาะจตุภาคที่มีรากฟันเทียมโดยเริ่มสแกนจากฟันธรรมชาติ กลุ่มที่สแกนทั้งขากรรไกรเริ่มสแกนจากสแกนบอดี้ และกลุ่มที่สแกนทั้งขากรรไกรโดยเริ่มสแกนจากฟันธรรมชาติ สแกนกลุ่มละ 10 ครั้ง แล้วบันทึกเป็นไฟล์เอสทีแอล ส่วนชุดข้อมูลที่ 2 ใช้ทดสอบด้านบันทึกการสบฟันที่ต่างกัน 3 กลุ่ม โดยทุกกลุ่มทดลองจะใช้แบบจำลองเสมือนจริงของขากรรไกรบนและล่างโดยไม่มีสแกนบอดี้เป็นไฟล์เดียวกันทุกกลุ่มการทดลองได้แก่ บันทึกสบฟันฝั่งเดียวกันกับบริเวณที่สนใจ บันทึกสบฟันฝั่งตรงข้ามกับบริเวณที่สนใจ และบันทึกสบฟันทั้งสองฝั่ง สแกนกลุ่มละ 8 ครั้ง แล้ววิเคราะห์ตรวจสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของตำแหน่งของสแกนบอดี้ของข้อมูลชุดที่ 1 และความแม่นยำของการบันทึกสบฟันเสมือนจริงของข้อมูลชุดที่ 2 ในโปรแกรมวิศวกรรมย้อนกลับ ข้อมูลที่ได้จะถูกวิเคราะห์โดยใช้สถิติชนิดความแปรปรวนแบบทางเดียวที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัย: ชุดข้อมูลที่ 1 พบว่าค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยกำลังสองของความถูกต้องและความแม่นยำของตำแหน่งสแกนบอดี้มีความแตกต่างทางสถิติในแต่ละกลุ่มการทดลอง (p < 0.001) กลุ่มที่สแกนทั้งขากรรไกรโดยเริ่มสแกนจากสแกนบอดี้มีความถูกต้อง (42.4±4.0 μm) และความเที่ยงตรงน้อยที่สุด (16.8±2.8 μm) เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น นอกจากนี้ ความแม่นยำของการบันทึกสบฟันเสมือนจริงของข้อมูลชุดที่ 2 ของแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) โดยกลุ่มที่บันทึกสบฟันฝั่งตรงข้ามกับบริเวณที่สนใจมีค่าความคลาดเคลื่อนสูงสุด (283.0±17.8 μm) สรุป: กลยุทธ์สแกนและด้านบันทึกการสบฟันข้างแก้มที่ต่างกันส่งผลต่อความแม่นยำการสแกนในรากฟันเทียมรองรับฟันเทียมส่วนท้ายสุด คำสำคัญ: ความแม่นยำ, การบันทึกสบฟันเสมือนจริง, สแกนบอดี้, กลยุทธ์สแกนen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650931033-ภัทรพร ยืนยง.pdf5.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.