Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJakramate Bootkrajang-
dc.contributor.advisorPrapaporn Techa-Angkoon-
dc.contributor.advisorChutipong Suwannajak-
dc.contributor.authorTaned Singloren_US
dc.date.accessioned2024-07-06T11:10:18Z-
dc.date.available2024-07-06T11:10:18Z-
dc.date.issued2024-03-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79635-
dc.description.abstractUnderstanding globular clusters (GC) is essential for comprehending the evolution of galaxies. However, identifying these clusters in image collections is time-consuming. This necessity has led to the development of an automated method for detecting GCs. Despite GC detection essentially being an object detection problem, modern algorithms struggle to provide reliable results. Inspired by how astronomers identify GCs, we introduce a deep neural network that combines various perspectives of raw image data to enhance input data representation. Subsequently, this network is integrated with the YOLO object detection approach to form the YOLO for Globular Cluster detection (YOLO-GC) model. Experiments conducted on a genuine catalog of GCs in the M33 Galaxy highlight the advantages of our approach for learning representations from multiple perspectives.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGlobular cluster detection in the Galaxy M33 using multi-view learningen_US
dc.title.alternativeการตรวจจับกระจุกดาวทรงกลมในกาแล็กซี M33 โดยใช้การเรียนรู้แบบพหุทรรศนะen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshComputer science-
thailis.controlvocab.lcshGalaxies-
thailis.controlvocab.lcshAstronomy -- Data processing-
thailis.controlvocab.lcshDeep learning (Machine learning)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกระจุกดาวทรงกลม (Globular Cluster) มีบทบาทอย่างยิ่งในการศึกษาการก่อตัวและวิวัฒนาการของกาแล็กซี อย่างไรก็ตาม การระบุตำแหน่งของกระจุกดาวทรงกลมในชุดข้อมูลรูปภาพที่มีขนาดใหญ่เป็นงานที่ใช้ทรัพยากรในด้านของแรงงานและเวลาที่มาก จากปัญหาดังกล่าวทำให้มีแนวคิดของการนำการเรียนรู้ของเครื่องมาดำเนินการตรวจจับกระจุกดาวทรงกลมแบบอัตโนมัติ และเนื่องจากปัจจุบันอัลกอริทึมของการตรวจจับกระจุกดาวทรงกลมที่มีอยู่ไม่สามารถให้ผลลัพธ์ที่แม่นยำได้มากพอ จึงมีการพัฒนาอัลกอริทึมให้มีความสามารถและประสิทธิภาพในการตรวจจับกระจุกดาวทรงกลมที่ดีมากยิ่งขึ้น โดยวิธีการและแนวคิดนั้นได้รับแรงบันดาลใจมาจากวิธีการที่นักดาราศาสตร์ระบุกระจุกดาวทรงกลม ที่ซึ่งใช้ความสว่างของภาพที่แตกต่างกันเพื่อระบุกระจุกดาวทรงกลม ดังนั้นในงานวิจัยนี้ได้เสนอเครือข่ายประสาทเทียมแบบลึกที่ผสานมุมมองหลายแบบของข้อมูลภาพดิบเพื่อทำให้มีตัวแบบสามารถเรียนรู้ข้อมูลจากมุมมองที่มากกว่าเดิม โดยอัลกอริทึมนี้จะถูกรวมเข้ากับอัลกอริทึมการตรวจจับวัตถุ YOLO และได้อัลกอริทึมใหม่ที่มีชื่อว่า YOLO for Globular Cluster detection (YOLO-GC) ผลการทดลองจากการตรวจจับกระจุกดาวทรงกลมในกาแล็กซี M33 แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการเรียนรู้การแสดงแทนแบบมุมมองหลายมุมที่เสนอสามารถทำให้ตัวแบบสามารถที่จะเรียนรู้และให้ประสิทธิภาพที่แม่นยำมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650531019-TANED SINGLOR.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.