Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79595
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Somporn Chantara | - |
dc.contributor.advisor | Wan Wiriya | - |
dc.contributor.author | Natthanit Kantarawilawan | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-28T10:26:32Z | - |
dc.date.available | 2024-06-28T10:26:32Z | - |
dc.date.issued | 2024-04-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79595 | - |
dc.description.abstract | The upper part of Northern Thailand including Chiang Mai, has been confronted with severe air pollution during the dry season almost every year. This study aims to monitor ambient concentrations from traffic-congested areas in Chiang Mai city to identify significant tracers for traffic emissions. Daily PM2.5 samples were collected at Rin Kham Intersection, one of the most condense traffic congestion in the city, during pre-smoke haze period (pre-SH) (November 2020 to December 2020), Smoke Haze period (SH); High-PM2.5 (H-PM2.5) (January 2021 to February 2021) and Extreme- PM2.5 (Ex-PM2.5) (March 2021 to April 2021), and Post-Smoke Haze period (Post-SH) (April 2021) using a high-volume air sampler. Mean PM2.5 concentrations for each sampling periods were 41.55±5.59 µg/m3 (n = 30), 61.71±14.92 µg/m3 (n = 31), 96.89±25.24 µg/m3 (n=27), and 32.03±8.14 µg/m3 (n=15), respectively. Analysis of elemental compositions of ambient PM2.5 revealed significant associations and potential sources across different periods. K (biomass burning tracer) had the highest concentration in the Ex-PM2.5 period, followed by H-PM2.5, indicating the dominant biomass burning during the high PM2.5 period. Ca and Fe have higher concentrations during pre-SH than post-SH but less than H-PM2.5 and Ex-PM2.5. This study revealed that Zn, Pb, Cr, and Cu are important tracers for traffic emission in this area. Moreover, Cr, Fe, and Zn showed significant correlations with PM2.5 levels during pre-SH, while K, Mg, and Mn exhibited stronger associations during SH, especially Ex-PM2.5. During post-SH, a strong correlation with K remained, but an increased correlation with Zn was also observed. This indicates that PM2.5 during SH (H-PM2.5 and Ex-PM2.5) were influenced by biomass burning, while traffic emission was contributed more during pre-SH and post-SH due to less biomass burning. | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Determination of ambient PM2.5-bound metals in traffic congestion area of Chiang Mai city | en_US |
dc.title.alternative | การหาปริมาณโลหะที่เกาะกับฝุ่นพีเอ็ม 2.5 ในบริเวณพื้นที่การจราจรหนาแน่นของเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Dust -- Chiang Mai | en_US |
thailis.controlvocab.lcsh | Dust -- Environmental aspects | en_US |
thailis.controlvocab.lcsh | Air -- Pollution | en_US |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยรวมถึงจังหวัดเชียงใหม่ ต้องเผชิญกับมลพิษทางอากาศที่รุนแรงในช่วงฤดูแล้ง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดความเข้มข้นของฝุ่นพีเอ็ม2.5จากพื้นที่การจราจรติดขัดในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อระบุธาตุและโลหะที่เป็นตัวตามรอยของมลพิษจากการจราจร ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นพีเอ็ม2.5 รายวัน (24 ชั่วโมง) โดยใช้เครื่องเก็บตัวอย่างอากาศปริมาณสูงจากบริเวณสี่แยกรินคำซึ่งมีการจราจรหนาแน่นของเมือง และเก็บตัวอย่างเป็นสี่ช่วงได้แก่ ช่วงก่อนฤดูหมอกควัน (พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563) ช่วงฤดูหมอกควัน; ช่วงฝุ่นพีเอ็ม2.5สูง (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2564) และช่วงฝุ่นพีเอ็ม2.5 รุนแรง (มีนาคม - เมษายน 2564) และ ช่วงฤดูหลังหมอกควัน (เมษายน 2564) ได้ความเข้มข้นเฉลี่ยของฝุ่นพีเอ็ม2.5 เป็น 41.55 ± 5.59 µg/m3 (n = 30), 61.71 ± 14.92 µg/m3 (n = 31), 96.89 ± 25.24 µg/m3 (n=27) และ 32.03 ± 8.14 µg/m3 (n=15) ตามลำดับ การวิเคราะห์องค์ประกอบธาตุของฝุ่นพีเอ็ม2.5 เผยให้เห็นความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญและแหล่งที่มาที่เป็นไปได้ในฤดูกาลต่างๆโดยโพแทสเซียมซึ่งเป็นตัวตามรอยของการเผาไหม้ชีวมวล มีความเข้มข้นแปรผันตามฝุ่นพีเอ็ม2.5 ซึ่งบ่งชี้ถึงการเผาไหม้ชีวมวลในฤดูหมอกควัน ส่วนธาตุแคลเซียมและเหล็ก มีความเข้มข้นสูงในช่วงก่อนฤดูหมอกควันมากกว่าหลังฤดูหมอกควัน แต่น้อยกว่าช่วงฝุ่นพีเอ็ม2.5สูง และช่วงฝุ่นพีเอ็ม2.5 รุนแรง จากผลการศึกษาพบว่าธาตุสังกะสี ตะกั่ว โครเมียม และทองแดง สามารถใช้เป็นตัวตามรอยของการปล่อยมลพิษจากการจราจรในพื้นที่นี้ นอกจากนี้ยังพบ โครเมียม เหล็ก และสังกะสี มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับระดับของฝุ่นพีเอ็ม2.5 ในช่วงก่อนฤดูหมอกควัน ในขณะที่องค์ประกอบ เช่น โพแทสเซียม แมกนีเซียม และ แมงกานีส แสดงความสัมพันธ์ที่มากขึ้นในช่วงฤดูหมอกควัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงฝุ่นพีเอ็ม2.5 รุนแรง ส่วนช่วงหลังฤดูหมอกควัน ยังพบความสัมพันธ์ที่สูงระหว่างฝุ่นพีเอ็ม2.5 กับโพแทสเซียม เช่นเดียวกับธาตุสังกะสี สิ่งนี้บ่งชี้ว่าฝุ่นพีเอ็ม 2.5 ในช่วงฤดูหมอกควันได้รับอิทธิพลจากการเผาไหม้ชีวมวล ในขณะที่มลพิษจากการจราจรมีอิทธิพลมากขึ้นในช่วงนอกฤดูหมอกควัน เนื่องจากมีการเผาไหม้ชีวมวลน้อยลง | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natthanit Kantarawilawan_620531018.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.