Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิโรจน์ อินทนนท์-
dc.contributor.authorพรสวรรค์ แก้วเกลี้ยงen_US
dc.date.accessioned2024-05-29T08:12:44Z-
dc.date.available2024-05-29T08:12:44Z-
dc.date.issued2024-02-14-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79480-
dc.description.abstractThe Aims of this thesis are to study the transformation of aesthetics perception in Southern Nang-Talung, Hans-Georg Gadamer’s concept of play and to reflect the concept of play which found in Southern Nang-Talung. This is a qualitive research. The procedure was followed by collecting data from academic documents and related literatures also the in-depth interview with scholars whose study on traditional and contemporary Nang-Talung. The result of the study found that at beginning Southern Nang-Talung related to Hinduism as a show which endeavors to teach moral lessons. The stories are indirectly related to the audience’s life at first. Due to the change of eras the stories become more related to life and add the characters that represent audience’s life into Nang-Talung. Also, the presentation properly develops to fit in with the audience acceptance. Which reveals that Nang-Talung has become play as it is able to be more related with life and increasing more interaction. Instead of the show that separates between stories and the audience’s life. Following Gadamer’s concept of play explained that aesthetic understanding came from participation in the artwork. The artwork included experience itself that can be affected to the audience’s experience. Southern Nang-Talung in present appears as play. So, the understanding needs to be through the area of play that players share to appreciate.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเปลี่ยนแปลงทางสุนทรียทัศน์ ในหนังตะลุงภาคใต้ : บทสะท้อนคิดจากมโนทัศน์การเล่นของฮันส์-เก-ออร์ก กาดาเมอร์en_US
dc.title.alternativeTransformation of aesthetics in southern Nang-Talung : A Reflection from Hans-Georg Gadamer's concept of playen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหนังตะลุง -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashฮันส์-เก-ออร์ก กาดาเมอร์-
thailis.controlvocab.thashไทย (ภาคใต้) -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางสุนทรียทัศน์ในหนังตะลุงภาคใต้ มโนทัศน์การเล่นของ ฮันส์-เก-ออร์ก กาดาเมอร์ และสะท้อนคิดมโนทัศน์เรื่องการเล่นของกาดาเมอร์จากหนังตะลุงภาคใต้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีขอบเขตการศึกษาด้านเอกสารอยู่ที่ตำรา เอกสารเชิงวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และขอบเขตด้านบุคคลอยู่ที่นักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับหนังตะลุงทั้งแบบขนบและสมัยใหม่ จากการศึกษาพบว่าหนังตะลุงภาคใต้ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ในยุคแรก การแสดงจึงมีจุดมุ่งหมายในการสั่งสอนศีลธรรมเป็นสำคัญ เนื้อเรื่องไม่มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตโดยตรง เมื่อเวลาผ่านไปก็เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในเรื่องและตัวหนังที่นำมาเล่นมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมากขึ้น ไปจนถึงการนำเสนอที่พัฒนาให้เข้ากับผู้ชมทุกยุคเสมอ ทำให้เห็นได้ถึงความเข้าใจหนังตะลุงจากลักษณะที่มีความเป็นการแสดงแยกขาดไปจากชีวิต มาเป็นการเล่นที่มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้ชมโดยตรงและมีการโต้ตอบมากขึ้น เมื่อมองการเล่นตามมโนทัศน์ของกาดาเมอร์พบว่าเป็นการทำความเข้าใจทางสุนทรียศาสตร์ที่เราจำเป็นจะต้องมีส่วนร่วมกับงาน ให้ความสำคัญกับตัวงานและผู้เล่นที่มีการสื่อสารของบทสนทนาที่อยู่ในระนาบเดียวกัน ตัวงานมีประสบการณ์ของมันเองและสิ่งที่ต้องการจะนำเสนอซึ่งสามารถส่งผลต่อประสบการณ์ของผู้ชมได้ ทำให้เห็นได้ว่าเมื่อหนังตะลุงภาคใต้ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นการเล่นมากขึ้นวิธีการทำความเข้าใจจึงต้องเปลี่ยนจากการมองแบบแยกส่วนมาเป็นการให้ความสำคัญทั้งตัวงานและผู้ชมที่เกิดขึ้นในขอบเขตของการเล่นที่มีร่วมกันen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640131001-PHONSAWAN KAEOKLIANG.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.