Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMarisa Sukapattee-
dc.contributor.authorKamolluk Turongsomboonen_US
dc.date.accessioned2024-01-15T10:45:33Z-
dc.date.available2024-01-15T10:45:33Z-
dc.date.issued2024-01-04-
dc.identifier.issn1309-100x-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79416-
dc.description.abstractObjectives: To investigate the use of self-adhering flowable composite and universal adhesive for immediate dentine sealing technique (IDS) under simulated pulpal pressure. Methods: Thirty permanent third molars were divided into three subgroups according to IDS technique: one-layer IDS with universal adhesive (U), one-layer IDS with self- adhering flowable composite (F) and two-layer IDS with universal adhesive with self- adhering flowable composite (UF). They were tested under two conditions: simulated and non-simulated pulpal pressure (PP, NP). The pulpal chamber in the PP group was subjected to a hydrostatic pressure of 20 cmH2O throughout the experiment. After IDS application, self-adhesive resin cement was employed to attach a composite rod to the treated dentine. Ten small beams from each group were randomly selected to investigate μTBS, mode of failure, and examine the ultrastructure of the bonding interface. Result: The μTBS of the non-simulated pulpal pressure group was significantly greater than that of the pulpal pressure group. The F-NP group yielded the highest μTBS, followed by the UF-NP and U-NP groups. While the F-PP and UF-PP groups provided comparable μTBS and significantly higher than the U-PP group. Conclusion: One-layer IDS using self-adhering flowable composite showed higher μTBS than one-layer IDS using universal adhesive and two-layer using universal adhesive and self-adhering flowable composite in both simulated and non-simulated pulpal conditions. Keywords: Pulpal pressure, self-adhering flowable composite, immediate dentine sealing.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectImmediate dentine sealingen_US
dc.subjectPulpal pressureen_US
dc.subjectSelf-adhering flowable compositeen_US
dc.titleThe Use of self-adhering flowable composite as immediate dentine sealing material, in vitro studyen_US
dc.title.alternativeการใช้เรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่งเป็นวัสดุในการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที: การศึกษาภายนอกร่างกายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDentistry-
thailis.controlvocab.lcshDental materials-
thailis.controlvocab.lcshBiomedical materials-
thailis.controlvocab.lcshDental adhesives-
thailis.controlvocab.lcshAdhesives-
thailis.controlvocab.lcshDental bonding-
thailis.controlvocab.lcshProtective coatings-
thailis.controlvocab.lcshDental resins-
thailis.manuscript.sourceJournal of International Dental and Medical Research-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการใช้เรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่งและสารยึดติดระบบยูนิเวอร์แซลในการนำมาใช้เป็นวัสดุเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีภายใต้การจำลองสภาวะที่มีแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อใน วัสดุและวิธีการ: ฟันกรามแท้ซี่ที่สามจำนวน 30 ซี่ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อยตามเทคนิคที่ใช้ในการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีประกอบด้วยกลุ่มเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 1 ช้ันด้วยสารยึดติดระบบยูนิเวอร์แซล (U) กลุ่มเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 1 ช้ันด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่ง (F) และกลุ่มเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 2 ช้ันด้วยสารยึดติดระบบยูนิเวอร์แซลตามด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่ง (UF) ทุกกลุ่มทดลองถูกทดสอบภายใต้ 2 สภาวะ ได้แก่ สภาวะที่มีและไม่มีแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อ ใน (PP, NP) โพรงในตัวฟันในกลุ่มที่จำลองสภาวะที่มีแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อในจะถูกต่อเข้ากับอุปกรณ์ควบคุมแรงดันน้ำที่ 20 เซนติเมตรน้ำ ตลอดการทดลองภายหลังการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันเสร็จจึงทำการยึดแท่งคอมโพสิตกับผิวเนื้อฟันที่เตรียมไว้ด้วยเซลฟ์แอดฮีซีฟเรซินซีเมนต์ จากน้ันนำชิ้นทดสอบที่ถูกตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยมจำนวน 10 ชิ้นจากทุกกลุ่มด้วยวิธีการสุ่มมาทดสอบความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาค ประเมินรูปแบบความล้มเหลวและศึกษาโครงสร้างระดับจุลภาคของพื้นผิวการยึดติด ผลการศึกษา: ค่าความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของกลุ่มทดสอบที่ไม่มีแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อใน สูงกว่าค่าของกลุ่มทดสอบที่มีการจำลองสภาวะแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อในอย่างมีนัยสำคัญ กลุ่ม F-NP มีค่าความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคสูงที่สุดตามด้วยกลุ่ม UF-NP และ U-NP ตามลำดับ ขณะที่กลุ่ม F-PP และ UF-PP มีค่าความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่มีค่ามากกว่า กลุ่ม U-PP อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา: เทคนิคการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 1 ช้ันด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่งมีค่าความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคสูงกว่าการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 1 ช้ันด้วยสารยึดติดระบบยูนิเวอร์แซลและการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที 2 ชั้นด้วยสารยึดติดระบบยูนิเวอร์แซลตามด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่งทั้ง ในสภาวะที่มีและไม่มีแรงดันของเหลวเนื้อเยื่อใน คำสำคัญ: แรงดันของเหลวเนื้อเยื่อใน เรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้แบบเซลฟ์แอดฮีริ่ง การเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีen_US
Appears in Collections:DENT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.