Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVleeschauwer, Jan Theo De-
dc.contributor.advisorRongkakorn Anantasanta-
dc.contributor.advisorKorakot Jairak-
dc.contributor.authorHe, Shuangen_US
dc.date.accessioned2024-01-14T09:52:50Z-
dc.date.available2024-01-14T09:52:50Z-
dc.date.issued2023-10-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79408-
dc.description.abstractThis PhD thesis work, "Excessive Desire", raises issues related to the current society, where people gradually amplify the evils in human nature in a social environment of excessive Internet use, leading to a continuous deterioration of the social environment. Therefore, this project aims to present the abovementioned problems through artwork. Its main goal is to create an animation with the theme of "Seven Deadly Sins" by studying the relevant working relationship between animation and the audience and to let the audience feel their life state of being addicted to the Internet through the presentation method. The author created a set of looping animations by studying theories about new media art, virtual aesthetics and social burnout, and the works of related artists. The story of this animated film is divided into seven separate animations featuring each of the seven deadly sins. The segments are interconnected and interrelated. The analysis of this artwork shows that creative aesthetics influences the viewer to view, perceive and interact with the artwork in a way that makes the viewer perceive his/her unhealthy state of life and his/her addiction to the Internet. The works in this project provoke discussion and reflection on issues related to Internet addiction in modern society. These works can convey and reflect content consistent with the intended concepts and objectives. The audience's comments and criticisms provoke a discussion of opinions between the audience and the authors. These debates provide valuable clues to explore the root causes and solutions to social problems. Overall, this project triggers the audience to reflect on Internet addiction and social problems through creative expressions. Through these works, it is hoped that the public's awareness of their living conditions and Internet usage can be aroused to promote positive social change.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectInternet addictionen_US
dc.subjectSocial problemsen_US
dc.subjectNew Media Narrative Styleen_US
dc.subjectNew Media Installation Arten_US
dc.subjectPublic behavioren_US
dc.subjectปัญหาทางสังคมen_US
dc.subjectสไตล์นาราทีฟของสื่อใหม่en_US
dc.subjectศิลปะการติดตั้งของสื่อใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมสาธารณะen_US
dc.subjectการติดยาทางอินเทอร์เน็ตen_US
dc.subjectบาป 7 ประการen_US
dc.subject7 Sinsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเล่าเรื่องของสื่อใหม่และพฤติกรรมของมนุษย์ในที่สาธารณะผ่านผลงานสื่อศิลปะจัดวางen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between the new media narrative style and public human behavior through media-installation arten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshInstallations (Art)-
thailis.controlvocab.lcshArts -- Social aspects-
thailis.controlvocab.lcshHuman behavior-
thailis.controlvocab.lcshInternet-
thailis.controlvocab.lcshSocial media-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้มีความปรารถนาที่ต้องการนาเสนอประเด็นซึ่งเกี่ยวข้องกับสังคมในสภาวะที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ด้วยมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วของการใช้งานอินเตอร์เนตและสื่อโซเชียลของผู้คนในสังคม นาไปสู่สภาพแวดล้อมทางสังคมที่เสื่อมโทรมลงและมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการสร้างสรรค์ผลงานดุษฎีนิพนธ์ชุดนี้จึงมุ่งนา เสนอและถ่ายทอดปัญหาดังกล่าวผ่าน ผลงาน สื่อศิลป ะจัดวาง ใน รูป แบ บ ข องผลงาน แอนิเม ชัน (Animation) ในแนวคิด"บาป 7 ประการ" หรือ 7 Sins นาเสนอและสร้างความหมายร่วมกันระหว่างผลงานแอนิเมชันกับผู้ชม เพื่อให้ผู้ชมเกิดการตระหนักและรับรู้ถึงปัญหาของการใช้อินเตอร์เนตในสังคมปัจจุบัน ผู้เขียนได้สร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชันจานวน 1 ชุด ที่กาหนดให้ฉายภาพเคลื่อนไหวเพื่อนาเสนอแนวความคิด โดยได้ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนิวมีเดียอาร์ต (New Media Art) สุนทรียภาพเสมือนจริง ความเหนื่อยหน่ายทางสังคม รวมไปถึงการศึกษาผลงานของศิลปินที่มีความสอดคล้องหรือเกี่ยวข้องกับ แนวความคิดและผลงานแอนิเมชัน ในผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้ประกอบขึ้นด้วยผลงานแอนิเมชันจานวนทั้งสิ้น 7 เรื่องย่อย ซึ่งแต่ละเรื่องมีความแตกต่างและแยกขาดจากกัน โดยมีแนวคิด "บาป 7 ประการ" หรือ 7 Sins เป็นแนวคิดหลักร่วมกันทาหน้าที่ร้อยเรียง เชื่อมโยงผลงานแอนิเมชันแต่ละเรื่องให้นาเสนอร่วมกันอย่างสอดคล้องมีความสัมพันธ์และส่งเสริมซึ่งกันและกัน จากการวิเคราะห์ผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้เห็นว่าสุนทรียะเชิงสร้างสรรค์มีอิทธิพลต่อผู้ชมในการมองเห็น การรับรู้ และการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันกับผลงานทาให้ผู้ชมรับรู้ถึงความเปราะบางของสภาพชีวิตที่แสนอ่อนแอ อันเป็นผลมาจากการให้เวลาและความสาคัญ หรือ “เสพติด” ในการใช้อินเทอร์เนตมากจนเกินไป ผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้ก่อให้เกิดการอภิปรายและการสะท้อนประเด็นอย่างกว้างขวางในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน หรือ “เสพติด” อินเทอร์เน็ตในสังคมสมัยใหม่มากจนเกินไป ผลงานชุดนี้นำเสนอและถ่ายทอด สะท้อนเนื้อหาได้ตรงตามแนวความคิดและวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ นอกจากนี้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น รวมไปถึงการวิพากษ์ วิจารณ์ของผู้ชมก่อให้เกิดการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ชมและผู้เขียนเป็นสิ่งที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อการค้นคว้าและเป็นแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมต่อไป กล่าวโดยสรุป ผลงานสื่อศิลปะจัดวางในรูปแบบของผลงานแอนิเมชัน แนวคิด "บาป 7 ประการ" หรือ 7 Sins ชุดนี้นั้น สร้างให้เกิดแรงกระตุ้นต่อผู้ชมให้เกิดการสะท้อนคิดถึงปัญหาของการ “เสพติด” อินเทอร์เน็ตและปัญหาของสังคม ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการกระตุ้นให้เกิดการตระหนักรู้ของสาธารณชนเกี่ยวกับสภาพสังคมในปัจจุบันรวมทั้งการใช้ อินเทอร์เนตที่มีมากจนเกินไป เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมไปในทิศทางที่ดีขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630351013 - SHUANG HE.pdf68.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.