Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorไพลิน ภู่จีนาพันธุ์-
dc.contributor.authorตระการ ทนานทองen_US
dc.date.accessioned2024-01-04T10:49:07Z-
dc.date.available2024-01-04T10:49:07Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79374-
dc.description.abstractThe development of community-based history learning innovation to enhance the digital citizenship of high school students aims to: 1) study the approach of community-based history learning management to promote digital citizenship of high school students; 2) develop community-based history learning management innovation to promote digital citizenship of high school students; and 3) study the outcomes of the community-based history learning management innovation to promote digital citizenship of high school students as a research and development project. The research population consists of 1) data providers, 2) innovation evaluators, and 3) innovation experimental users. Research instruments include 1) documentary analysis form, 2) interviews form, 3) Index of Item Objective Congruence : IOC form, 4) suitability assessment form, 5) digital citizenship assessment form, and 6) focus group recording form. Data are analyzed through Content Analysis then presented in Descriptive Analysis and analyzed the data with Statistical Program to determine mean and standard deviations. The research findings are as follows: The study of community-based history learning management to promote digital citizenship of high school students, it was found that community-based history learning, in conjunction with Community-Based Learning (CBL), using local history content as a learning focus, connects students' knowledge as local community members with a historical consciousness in their area. This leads to the development of digital-based learning innovations to promote community tourism. Teachers must facilitate learning management by involving students in the design, planning, and selection of learning topics and implementing various assessments, responding to educational management in the Education Sandbox Area. The researchers have developed a community-based historical learning management model to promote digital citizenship of high school students, called the 4P Community-Based Historical Learning Model, which includes 1) Planning (Plan: P), 2) Processing (Process: P), 3) Reflective Thinking (Practice reflection), and 4) Community Engagement (Participatory). The development of community-based history learning innovation to promote digital citizenship of high school students, the 4P Community-Based Historical Learning Model has an overall Index of Conformity (IOC) of 0.92, considering that an IOC of 0.50 or higher is suitable for practical use. The researchers have subsequently designed three learning plans, totaling 15 hours of learning. These plans have an overall IOC of 0.82, also considered suitable for practical use, with high overall suitability. The study of the outcomes of the community-based history learning management innovation to promote digital citizenship of high school students, it was found that students' digital citizenship assessment results were at the highest level. The researchers have further enhanced the model to be more effective, resulting in the 5P Community-Based Historical Learning Model, based on feedback and reflections from students who have undergone the community-based history learning management innovation process to promote digital citizenship among high school students.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.title.alternativeDeveloping community-based history learning innovation to enhance digital citizenship of high school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 3) ศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development ) ประชากรประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล 2) กลุ่มผู้ประเมินนวัตกรรมการเรียนรู้ และ 3) กลุ่มทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวิเคราะห์เอกสาร 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง 4) แบบประเมินความเหมาะสม 5) แบบประเมินความเป็นพลเมืองดิจิทัล และ 6) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอในรูปแบบพรรณนา (Descriptive Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชนเป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ร่วมกับ Community-Based Learning : CBL โดยใช้เนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นประเด็นการเรียนรู้ที่จะเชื่อมโยงความรู้ของนักเรียนในฐานะสมาชิกของท้องถิ่นที่มีสำนึกประวัติศาสตร์ในพื้นที่ของตนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ฐานดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน โดยครูผู้สอนจะต้องดำเนินการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ วางแผน และเลือกสรรประเด็นการเรียนรู้ที่สนใจ และมีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ตอบสนองต่อการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (Education Sandbox Area) โดยผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียกว่า 4P Community Based Historical Learning Model ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 เตรียมการ (Plan: P) ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการ (Process: P) ขั้นที่ 3 สะท้อนคิด (Practice reflection) และขั้นที่ 4 นำผลสู่ชุมชน (Participatory) 2. การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ 4P Community Based Historical Learning Model มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ภาพรวมอยู่ที่ 0.92 โดยพิจารณาว่าหากค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มีค่า 0.50 ขึ้นไป ถือว่าสามารถนำรูปแบบการเรียนรู้ไปใช้ได้ จากนั้นผู้วิจัยได้นำรูปแบบการเรียนรู้ไปออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน ใช้เวลาเรียนรู้ทั้งสิ้น 15 ชั่วโมง มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ภาพรวมอยู่ที่ 0.82 โดยพิจารณาว่าหากค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มีค่า 0.50 ขึ้นไป ถือว่าสามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ได้ และมีความเหมาะสมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. การศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า นักเรียนมีผลการประเมินความเป็นพลเมืองดิจิทัลในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผู้วิจัยได้ทำการพัฒนารูปแบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ 5P Community Based Historical Learning Model ซึ่งเป็นการพัฒนาจากข้อเสนอแนะและการสะท้อนคิดจากนักเรียนที่ผ่านกระบวนการจากนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฐานชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232083 นายตระการ ทนานทอง.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.