Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWoralun Boonyasurat-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorNoraseth Thechaen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:12:01Z-
dc.date.available2024-01-02T17:12:01Z-
dc.date.issued2022-02-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79361-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to study and analyze the problems of the Historic City of Ayutthaya, to study the potential for civic empowerment of civil society, and to propose problems management by a community-based learning process to strengthen the power of civil society citizens in the World Heritage City of Phra Nakhon Si Ayutthaya and nearby communities. Multi-methods were used by using Grounded Theory in Ethnography, Participatory Action Research, research and development methodology. Data collection was conducted from literature-based studies, field data collection, and workshops with 30 populations in the World Heritage City and 9 nearby communities. Qualitative data were analyzed by content analysis, and quantitative data were analyzed using descriptive statistics such as percentage, frequency, means, and standard deviation (S.D.) The results presented that the expansion of Rojana Industrial Park industrial estates around the city of Phra Nakhon Si Ayutthaya, and the registration as a World Heritage Site made indigenous people want to strengthen their own power by extending or building wisdom until they generate income and create their own identity, and create a good image of Phra Nakhon Si Ayutthaya as a tourist city in parallel with the development of cultural heritage of relevant organizations. Indigenous people are considered role models of learning with the learning process and way of life with citizenship qualifications to youth in educational institutions and with indigenous people's leadership to citizens in all dimensions. Community Experience Learning and Assessment (CELA) consists of 4 steps: 1) Community Analysis (C), 2) Empowerment Community (E), 3) Learning Community Innovation (L), and 4) Assessment for Learning Community (A). It is an active learning management process by indigenous people, students and teachers together organize a series of learning experiences to recognize the significances of cultural capital as communities' resources, continue and apply cultural capital for sustainable development and the appropriateness of the learning process at the highest level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCivic empowerment of civil society through community-based learning: a case study of world heritage and nearby communities in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.title.alternativeการเสริมสร้างพลังอำนาจของพลเมืองภาคประชาสังคมผ่านการเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐาน: กรณีศึกษาชุมชนในพื้นที่มรดกโลกและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCommunity development -- Phra Nakhon Si Ayutthaya-
thailis.controlvocab.lcshCommunities -- Citizen participation-
thailis.controlvocab.lcshWorld Heritage areas -- Phra Nakhon Si Ayutthaya-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหาของพระนครศรีอยุธยาเมืองมรดก โลก ศึกษาศักยภาพการเสริมสร้างพลังอำนาจของพลเมืองภาคประชาสังคมและเสนอการ จัดการ ปัญหาโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของพลเมืองภาคประชา สังคมในพระนครศรีอยุธยาเมืองมรดกโลกและชุมชนใกล้เคียง ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบพหุวิธี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูลเชิงชาติพันธุ์ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาจากวรรณกรรม การเก็บข้อมูล ภาคสนาม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ กับประชากรจำนวน 30 คน ในพื้นที่เมืองมรดกโลกและ ชุมชน ใกล้เคียงจำนวน 9 ชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ข้อมูลเชิง ปริมาณ โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าการ ขยายตัวของนิคมอุตสาหกรรมสวนอุตสาหกรรมโรจนะ โดยรอบตัวเมือง พระนครศรีอยุธยา และการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ทำให้กูมิ ปัญญาชนต้องมีการเสริมสร้างพลังอำนาจของตนเองโดยการต่อยอดหรือสร้างภูมิปัญญาจนเกิดรายได้ และสร้างเอกลักษณ์ของตนเองและ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในฐานะเมือง ท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้อง ภูมิปัญญาชนนับว่าเป็น ต้นแบบของบุคคลแห่งการเรียนรู้ที่มีกระบวนการเรียนรู้และการคำรงชีวิตของคุณสมบัติความเป็นพล โลกในการเป็นแบบอย่างให้กับเยาวชนในสถานศึกษา และ มีภาวะผู้นำของภูมิปัญญาชนให้กับ พลเมืองในทุกมิดิ กระบวนการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ฐานชุมชน (CELA) ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1. วิเคราะห์ชุมชน 2. รวมพลังผูกพันชุมชน 3. รังสรรค์นวัตกรรมชุมชน 4. ประเมินและสร้าง เครือข่ายชุมชน เป็นกระบวนการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยมีภูมิปัญญาชน ผู้เรียน ผู้สอน ร่วมกันจัด ชุดประสบการณัการเรียนรู้ที่เล็งเห็นความสำคัญของทุนทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นทรัพยากรของ ชุมชน สานต่อและประยุกต์ทุนทางวัฒนธรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และมีความเหมาะสมของ กระบวนการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590251005 นรเศรษฐ์ เตชะ.pdf36.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.