Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAtichart Harncharnchai-
dc.contributor.authorWang, Wantingen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:02:01Z-
dc.date.available2023-12-12T16:02:01Z-
dc.date.issued2022-03-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79312-
dc.description.abstractEnglish major students in China face the problem of meeting the requirements of the professional skills by the enterprises. Improving professional skills can help increase employment opportunities. This study employs the personal knowledge management as a framework for skills development. Its purpose is to place students at the center of their own learning to acquire, organize, share, and transform external knowledge into personal tacit knowledge. A sample of 20 junior students majoring in English at Chengdu University was selected purposively to conduct a self-learning for a three-month period. Document review and interview were used during the first stage of knowledge audit to find out the common skills' requirements. The following stage is knowledge capture and analysis to analyze the common skills gaps and identify students' self-evaluation on their skills using pre-test, scoring rubric and interview. The knowledge sharing stage attempts to develop the PKM model based on the concept of the Seek-Sense-Share framework. In the last stage of knowledge applying, the implementation and the measurement of the proposed model has been conducted using 'JINGYEQIAN' platform which is one of the most popular applications for virtual learning community. The result shows that professional knowledge and skills has been seen improved at some extent while personal knowledge management is useful in clarifying the learning goals, formulating learning activities and carrying out independent learning effectively. In the evaluation stage, the result also shows that students are less used to relying on the virtual learning community (the JINGYEQIAN), while they prefer to use WeChat to communicate the thoughts. Moreover, the students' satisfaction level on the PKM model also shows a high value by reviewing students' feedback that more than 80% of the students are satisfied with their learning results so that they will continue to use the PKM framework in their future learning.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectJINGYEQIANen_US
dc.titleProfessional skills development for English major students using personal knowledge managementen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาทักษะวิชาชีพสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้การจัดการความรู้ส่วนบุคคลen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshChengdu University -- Students-
thailis.controlvocab.lcshCollege students -- Employment-
thailis.controlvocab.lcshKnowledge management-
thailis.controlvocab.lcshSelf-managed learning-
thailis.controlvocab.lcshLearning-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษในประเทศจีนเผชิญกับปัญหาของทักษะวิชาชีพที่ตรงกับความ ต้องการขององค์กร ทั้งนี้ การเพิ่มทักษะวิชาชีพจะส่งผลต่อการเพิ่มโอกาสในการจ้างงาน งานวิจัยนี้ใช้ กรอบการจัดการความรู้ส่วนบุคคลในการพัฒนาทักษะวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาเป็น ศูนย์กลางในการเรียนรู้ด้วยคนเองผ่านการได้มา จัดระบบ แลกเปลี่ยน และแปลงความรู้จากภายนอก ให้เป็นความรู้ฝังลึกส่วนบุคคล โดยทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงของนักศึกษาสาขาวิชา ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเฉิงตู จำนวน 20 คน สำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดระยะเวลาสามเดือน ขั้นตอนแรกของการตรวจสอบความรู้ ใช้วิธีการตรวจสอบเอกสารและการสัมภาษณ์เพื่อค้นหา ความต้องการทักษะร่วม ขั้นตอนต่อไป คือการจับความรู้และการวิเคราะห์เพื่อระบุช่องว่างทักษะร่วม และการประเมินทักษะตนเองของนักศึกษา ด้วยการทคสอบก่อน การให้คะแนน โดยใช้เกณฑ์ และ การสัมภาษณ์ ในขั้นตอนการแบ่งปันความรู้ มุ่งที่จะพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ส่วนบุคคลตาม กรอบของ Seek-Sense-Share และ ในขั้นตอนสุดท้ายของการประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นการใช้และ ประเมินโมเดลที่นำเสนอ โดยดำเนินการบนแพลตฟอร์ม 'JINGYEQIAN' ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรม ประยุกต์ที่มีชื่อเสียงด้านชุมชนการเรียนรู้แบบเสมือน ผลการศึกษาพบว่า ความรู้และทักษะวิชาชีพมีการปรับปรุงขึ้นในระดับหนึ่ง และ การจัดการ ความรู้ส่วนบุคคลเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาที่ช่วยให้เกิดความชัดเจนในการกำหนดวัตถุประสงค์ของ การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และการคำเนินการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีประสิทธิภาพ ใน ขั้นตอนการประเมินผลพบว่า นักศึกษาไม่คุ้นเคยกับการใช้ชุมชนการเรียนรู้แบบเสมือน ในขณะที่ ชอบการใช้โปรแกรม WeChat ในการสื่อสารความคิด นอกจากนั้น นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ รูปแบบการจัดการความรู้ส่วนบุดคลในระดับสูง ซึ่งจากการสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาจำนวนมากกว่า 80% พึงพอใจต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนเรียนรู้ของตนเอง และตั้งใจที่จะใช้ โมเดลการจัดการความรู้ต่อไปเพื่อการเรียนรู้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622132015 WANTING WANG.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.