Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79311
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAchara Khamaksorn-
dc.contributor.advisorDanaitun Pongpatcharatrontep-
dc.contributor.authorHu, Dieen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T15:59:01Z-
dc.date.available2023-12-12T15:59:01Z-
dc.date.issued2022-02-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79311-
dc.description.abstractDue to the phenomenal growth of the Intemet, e-commerce and Social Networks (SNs), research on Social Recommendation Systems (SRSs) has become a hot topic to address information overload and respond to diverse individual demands by exploiting users' social networks. However, many of the existing social recommendation methods lack an in-depth analysis of long-stay users from cross-cultural backgrounds, causing insufficient social recommendation retrieving and matching because the social attributes and required information recommendations of these users differ from those of common users suitable for general information system recommendations such as short-stay tourists, local organisations or residents. Therefore, this paper aims to develop a social network-based recommendation framework to address the research gap by taking Chinese long-stayers in Chiang Mai as a case study. Based on the processes of Knowledge Management (KM), this paper adopts a mixed methods research design, combining qualitative and quantitative approaches in the form of online questionnaire surveys and semi-structured in-depth interviews, to investigate the research problems and analyse the collected data from the perspective of Social Network Analysis (SNA). An initial qualitative pilot study on 32 sample respondents validates the significance of the research problems and a further quantitative questionnaire survey of 229 respondents highlights the positive impact of individual demographic characteristics, social networks and latent factors on social recommendation performance for Chinese long-stayers in Chiang Mai. The subsequent semi-structured Focus Group (FG) interviews on ten key social actors qualifies the questionnaire survey results and facilitates the design of a social network-based recommendation framework, which aims to provide Chinese long- stayers or any long-stay users that need it with filtering and efficient social recommendations in a cross-cultural context. According to the evaluation of four experts using After Action Review (AAR), the experimental results demonstrated that the proposed framework is effective in providing highly accurate social recommendations that enable Chinese users to develop strategies and make choices during their long-term residence in Chiang Mai. The preliminary work will contribute to the current understanding of the impact of social networks in theory and practice on the social recommendation performance for researchers and practitioners who need social recommendations or seek innovative business and management strategies concerning Chinese long-stayers in a cross-cultural context. However, further studies are required to identify other factors that could strengthen the effectiveness and usefulness of these needs-oriented social recommendations for long-tem residents in a cross-cultural environment in practice.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleA Social recommendation framework for Chinese long-stayers in Chiang Maien_US
dc.title.alternativeกรอบแนวทางการแนะนำทางสังคมสาหรับเครือข่ายชาวจีนผู้พํานักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshChinese -- Social networks-
thailis.controlvocab.lcshSocial networks-
thailis.controlvocab.lcshChinese -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshChinese -- Foreign countries-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากปรากฏการณ์ของการเติบโตของเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet) อีคอมเมิร์ซ (E- Commerce) และเครือข่ายทางสังคม(Social Networks: SNs) การวิจัยเกี่ยวกับระบบการแนะนำทาง สังคม (SRSs) ได้กลายเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจเพื่อนำไปจัดการกับข้อมูลที่มีปริมาณมาก เกินไป โคยการนำแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายทางสังคมมาใช้ประโยชน์เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลความ ต้องการที่หลากหลายของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตาม วิธีการแนะนำทางสังคมที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยังขาด การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกของผู้ที่ย้ายมาอยู่อาศัยและพำนักระยะยาว ส่งผลให้ระบบการแนะนำทาง สังคมยังไม่มีการนำมาใช้อย่างเหมาะสม อันเนื่องมากจากข้อมูลทั่วไป คุณลักษณะทางสังคม และ ข้อมูลสำหรับการแนะนำที่จำเป็นของผู้ที่ย้ายมาอยู่อาศัยและพำนักระยะยาวเหล่านี้ มีความแตกต่าง จากผู้อยู่อาศัยทั่วไป เช่น นักท่องเที่ยวที่เข้าพักระยะสั้น องค์กรท้องถิ่น หรือผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่น ดังนั้น งานวิจัยชื้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบข้อเสนอแนะบนเครือข่ายสังคม โดยมี ชาวจีนที่พำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่เป็นกรณีศึกษา โดยระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัยขึ้นนี้เป็น การวิจัยแบบผสมผสานของวิธีการเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยการสำรวจแบบสอบถามออนไลน์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง เพื่อตรวจสอบปัญหาการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บ รวบรวมจากมุมมองของการวิเคราะห์เครือข่ายสังคม (SNA) ตามกระบวนการจัดการความรู้ (KM) การศึกษาเชิงคุณภาพเบื้องตัน มีผู้ตอบแบบสำรวจทั้งสิ้น 32 กลุ่มตัวอย่าง เพื่อยืนยัน ความสำคัญของปัญหาการวิจัย และ การสำรวจแบบสอบถามเชิงปริมาณเพิ่มเติมของผู้ตอบ แบบสอบถาม 229 คน เน้นถึงผลกระทบเชิงบวกของลักษณะทางประชากรส่วนบุคคล เครือข่ายสังคม และ ปัจจัยแฝงที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของข้อเสนอแนะทางสังคมสำหรับชาวจีนผู้พำนักระยะยาวใน จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากนั้น ได้ดำเนินการสัมภาษณ์กลุ่มย่อยแบบกึ่งโครงสร้างกับผู้มีบทบาททาง สังคม จำนวน 10 คน เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแบบสอบถาม นำไปใช้ในการออกแบบกรอบ การแนะนำเครือข่ายทางสังคม เพื่อให้ชาวจีนผู้พำนักระยะยาวหรือผู้ที่อยู่ระยะยาว นำข้อมูลและ ข้อเสนอแนะทางสังคมที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการย้ายมาอยู่อาศัยและพำนักระยะยาว จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ 4 คน ด้วยวิธีการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (AAR) ผลการ ทบทวนแสดงให้เห็นว่ากรอบคำแนะนำทางสังคมดังกล่าวที่นำเสนอมีประสิทธิผลที่มีความแม่นยำ ที่ ช่วยให้ชาวจีนที่อยู่อาศัยระยะยาวสามารถพัฒนากลยุทธ์และตัดสินใจได้ในระหว่างที่พำนักระยะยาว ในจังหวัดเชียงใหม่ ผลจากงานวิจัยชื้นนี้ ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของเครือข่ายสังคมในปัจจุบัน ทั้งในทางทฤษฎีและการปฏิบัติต่อประสิทธิภาพการแนะนำทางสังคมสำหรับนักวิจัยและผู้ปฏิบัติงาน ที่ต้องการคำแนะนำทางสังคมหรือแสวงหากลยุทธ์ทางธุรกิจและการจัดการที่เป็นนวัตกรรมใหม่ เกี่ยวกับผู้พำนักระยะยาวชาวจีนอย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาเพื่อระบุปัจจัยสำคัญอื่นๆ เพิ่มเดิม เพื่อที่จะสามารถเสริมสร้างประสิทธิภาพและประ โยชน์ของระบบคำแนะนำทางสังคมสำหรับผู้อยู่ อาศัยในระยะยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622132011 DIE HU.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.