Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79293
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKullapop Suttiat-
dc.contributor.authorPalanupap Pongtongkhamen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T01:16:28Z-
dc.date.available2023-12-12T01:16:28Z-
dc.date.issued2023-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79293-
dc.description.abstractUltra-translucent multilayered zirconia restorations fabricated using CAD/CAM technology have recently gained popularity. Their esthetic appeal is crucially dependent on color accuracy, influenced by prosthesis thickness and multilayer composition due to CAD/CAM milling positions. This study comprehensively investigated how these two factors impacted color accuracy, thereby enhancing our understanding of color outcomes. Materials and Methods. One hundred monolithic multilayer zirconia specimens with 10×10 mm square shape were milled in four different positions and five different thicknesses (1.0, 1.5, 2.0, 2.5, and 3.0 mm). The specimens were placed on an A3 shade resin composite substrate, and CIELAB values (L*, a*, b*) were measured using a spectrophotometer. ∆E values were calculated to quantify color differences between the specimens and the A3 VITA Classical shade tab and compared with the perceptibility and acceptability thresholds of ∆E=1.2 and 2.7, respectively. Pearson correlation, two-way ANOVA, and Tukey multiple comparisons (α=0.05) were performed Results. The proportion of the dentin layer was positively correlated with the a* and b* values, while specimen thickness was positively correlated with the a* value and negatively correlated with the L* and b* values. Significant difference in ∆E value due to different CAD/CAM positions was not observed within the same specimen thickness. Perceptible color differences were observed in specimens with thicknesses greater than 1 mm, while specimens with 1 mm thickness fell within the clinically acceptable range. Highest ∆E value was found in the specimen with 1 mm thickness. Conclusions. Different compositions of multilayers in the final restoration due to different CAD/CAM positions do not significantly affect the color appearance of ultra-translucent multilayer zirconia, with color only influenced by specimen thickness.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCAD/CAM position, Color difference (∆E), Ultra-translucent multilayered zirconia, Zirconia thicknessen_US
dc.titleEffect of milling position and thickness on color of ultra-translucent multilayered zirconiaen_US
dc.title.alternativeผลของตำแหน่งการกัดและความหนาต่อสีของเซอร์โคเนียชนิดมัลติเลย์แบบโปร่งแสงพิเศษen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDentistry, Operative-
thailis.controlvocab.lcshFillings (Dentistry)-
thailis.controlvocab.meshProsthodontics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความเป็นมาวัสดุบูรณะเซอร์โคเนียชนิดโปร่งแสงพิเศษที่ขึ้นรูปด้วยเทคโนโลยีการแคด/แคมได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน โดยความสวยงามของวัสดุบูรณะขึ้นกับความถูกต้องของสีซึ่งได้รับอิทธิพลจากความหนาและปริมาณชั้นสีที่แตกต่างกันจากตำแหน่งการแคด/แคมของวัสดุบูรณะ การศึกษานี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยดังกล่าวต่อความแม่นยำของสี เพื่อสร้างความเข้าใจต่อสีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น วิธีการวิจัย ชิ้นทดสอบเซอร์โคเนียชนิดมัลติเลย์ทรงสี่เหลี่ยมขนาด 10x10 มิลลิเมตร จำนวนทั้งหมด 100 ชิ้นถูกกัดโดยมีตำแหน่งในการแคด/แคมที่แตกต่างกัน 4 ตำแหน่ง และความหนาที่แตกต่างกัน 5 ความหนา (1.0, 1.5, 2.0, 2.5 และ 3.0 มิลลิเมตร) จากนั้นวางชิ้นทดสอบบนพื้นหลังวัสดุเรซินคอมโพสิตสี A3 แล้ววัดค่าสีในระบบสีซีไออีด้วยเครื่องวัดการดูดกลืนแสง เพื่อคำนวณค่าความแตกต่างของสีระหว่างชิ้นทดสอบกับแถบเทียบสีฟันไวต้าคลาสสิกสี A3 ร่วมกับการใช้เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสีที่สามารถรับรู้ได้และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสีที่สามารถยอมรับได้ที่ 1.2 และ 2.7 จากนั้นนําข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วยสถิติสหสัมพันธแบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มด้วยสถิติเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูคีย์ (α=0.05) ผลการศึกษา พบว่าอัตราส่วนชั้นของชั้นเนื้อฟันมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าสี a* และ b* และความหนามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าสี a* และมีความสัมพันธ์เชิงลบกับค่าสี L* และ b* การศึกษานี้ยังพบว่าค่าความแตกต่างของสีในชิ้นทดสอบที่มีตำแหน่งการแคด/แคมต่างกันไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยชิ้นทดสอบที่มีความหนามากกว่า 1 มิลลิเมตรมีค่าความแตกต่างของสีที่ต่ำกว่าเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสีที่สามารถรับรู้ได้ ขณะที่ค่าความแตกต่างของสีในชิ้นทดสอบหนา 1 มิลลิเมตรอยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสีที่สามารถยอมรับและมีค่าความแตกต่างของสีมากที่สุด สรุปผลการศึกษา สัดส่วนของชั้นสีที่เกิดจากตำแหน่งการแคด/แคมที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อสีของวัสดุเซอร์โคเนียชนิดมัลติเลย์แบบโปร่งแสงพิเศษ มีเพียงปัจจัยเรื่องความหนาเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อสีของวัสดุบูรณะen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630931019-PALANUPAP PONGTONGKHAM.pdf60.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.