Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79256
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Danaitun Pongpatcharatorntep | - |
dc.contributor.author | Xu, Pang | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-04T17:31:52Z | - |
dc.date.available | 2023-12-04T17:31:52Z | - |
dc.date.issued | 2023-10-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79256 | - |
dc.description.abstract | In recent years, the trend of Chinese tourists traveling to Thailand for medical cosmetology tourism has been steadily increasing. To gain a deeper understanding of this expanding market, this study aims to investigate the service quality of Chinese tourists in the field of medical cosmetology tourism in Thailand, with the goal of providing targeted improvement strategies to create value. This study integrated literature related to the SERVQUAL service quality model to establish criteria for evaluating the quality of medical services. Subsequently, utilizing in-depth interviews with experts in the medical cosmetology industry, the study formulated criteria for Thai medical cosmetology services, considering the characteristics of medical cosmetology tourism. These criteria include environmental quality, postoperative care, Chinese communication skills, among others. To gain a better understanding of the requirements and expectations of Chinese tourists, the study employed the KANO model and designed a questionnaire to survey the target group of Chinese tourists seeking cosmetic procedures in Thailand. Through the analysis of survey data, their requirements were categorized into three main groups: 1) basic needs, 2) expected needs, and 3) attractive needs. The Better-Worse coefficient was then used to determine criteria that could significantly increase or decrease tourist satisfaction. This research provides valuable information for understanding the demands of Chinese tourists. The research also utilized the obtained results to conduct on-site evaluations of three medical cosmetology clinics in Thailand, conducting a multidimensional analysis of their actual service quality. This analysis included aspects such as quality, safety, service attitude, and language communication skills. In summary, this study puts forth strategic recommendations aimed at enhancing the quality of medical cosmetology services in Thailand, with the goal of better meeting the needs of Chinese tourists and creating additional value for the industry. This research offers a fresh perspective for the field of medical tourism and is expected to provide beneficial insights for the development of related industries. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | A Study on satisfaction factors of Chinese tourists in medical cosmetology in Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาปัจจัยความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนในธุรกิจศัลยกรรมความงามในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Surgery -- User satisfaction | - |
thailis.controlvocab.lcsh | User satisfaction | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Tourists -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Beauty, Personal -- Thailand | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- Description and travel | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัจจุบันจำนวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาประเทศไทย เพื่อการท่องเที่ยวทางการแพทย์ด้านความงาม มีทิศทางการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่งานวิจัยเพื่อทำความเข้าใจต่อตลาดที่กำลังขยายเติบโตนี้ กลับมีอยู่อย่างจำกัด ในการศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการการท่องเที่ยวทางการแพทย์ด้านความงามของนักท่องเที่ยวจีนในประเทศไทย โดยมีเป้าหมายเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงกลยุทธ์การตลาดที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มป้าหมาย การศึกษาได้ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับศึกษาตัวแบบ SERVQUAL เพื่อระบุเกณฑ์การประเมินคุณภาพบริการทางการแพทย์ด้านความงามเบื้องต้น และใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมฯ เพื่อสังเคราะห์หัวข้อหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับลักษณะที่เฉพาะเจาะจงของการท่องเที่ยวทางการแพทย์ด้านความงาม ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของการท่องเที่ยวทางการแพทย์ด้านความงามในประเทศไทย หัวข้อหลักเกณฑ์ที่ได้ครอบคลุมคุณภาพทั้งสภาพแวดล้อมของการท่องเที่ยวทางการแพทย์ด้านความงาม รวมถึงด้านความปลอดภัย การดูแลหลังการผ่าตัดและความมีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ เพื่อเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของนักท่องเที่ยวจีนอย่างลึกซึ้ง งานวิจัยใช้ตัวแบบ KANO ในการออกแบบแบบสอบถาม เพื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างคนจีน กลุ่มเป้าหมายการท่องเที่ยวการแพทย์เพื่อความงาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจของนักท่องเที่ยวจีน โดยได้จำแนกเกณฑ์ออกเป็น 1) กลุ่มความต้องการพื้นฐาน 2) ความต้องการที่คาดหวัง และ 3) คุณลักษณะที่ดึงดูดตามลำดับ และระบุเกณฑ์ที่สามารถเพิ่มหรือลดความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวได้มากที่สุด โดยใช้สัมประสิทธิ์ Better-Worse นำเสนอข้อมูลที่มีคุณค่าต่อการเข้าใจความต้องการของนักท่องเที่ยวจีน การวิจัยนี้ ยังได้นำเอาผลลัพธ์ที่ได้เพื่อทดลองประเมินสถานที่ให้บริการจริง คลินิกเวชกรรมเสริมความงามจำนวน 3 แห่งในประเทศไทย เพื่อทดสอบประเมินจุดแข็งจุดอ่อนโดยใช้เกณฑ์คุณภาพบริการที่พัฒนาขึ้น วิเคราะห์คุณภาพการให้บริการทั้งมิติประสิทธิภาพ มิติคุณภาพ มิติความปลอดภัย มิติความเป็นมิตรของผู้ให้บริการ ตลอดจนทักษะการสื่อสารทางภาษา (ภาษาจีน) โดยสรุปการศึกษานี้ นำเสนอข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์เพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการการแพทย์ด้านความงามในประเทศไทย เพื่อช่วยให้คลินิกเวชกรรมเสริมความงามสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวจีนได้ดีขึ้น สร้างมูลค่าเพิ่มต่อธุรกิจฯ เป็นการวิจัยที่นำเสนอมุมมองใหม่สำหรับการศึกษาในสาขาการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ นำไปสู่การกำหนดแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกล่าว | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632132003 - Xu Pang.pdf | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.