Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79245
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนีกร ทองสุขดี | - |
dc.contributor.author | อรทัย ไชยวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-04T16:46:27Z | - |
dc.date.available | 2023-12-04T16:46:27Z | - |
dc.date.issued | 2566-08-14 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79245 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to investigate the effects of training in expressing a need to use a toilet under a case study of a child with speech and language impairment and intellectual disability using picture exchange communication system and positive reinforcement. A case study was a 14-year-old boy diagnosed by a physician with speech and language impairments and intellectual disabilities, having communication problems and being unable to express his needs. The research instruments were 1) a positive reinforcement survey, 2) a behavior observation form based on picture exchange communication system to express a need to use a toilet, 3) three individualized education plans, learning unit on going to the toilet. Data were collected from November to December 2021. Data were analyzed using frequencies, means, and percentages. The study results indicated that the case study had higher communication skills by using the picture exchange communication system, compared to before and after the research was conducted. The percentage before the research was conducted in procedure 1 was 0.00 %, in procedure 2 (2A-1) was 0.00 % and in procedure 2 (2A-2) was 0.00 %. After using the picture exchange communication system, the case study was able to express his need in procedure 1 by 100 %, in procedure 2 (2A-1) by 100 % and in procedure 2 (2A-2) by 100 %. After practicing the picture exchange communication system and positive reinforcement for 10 days, the case study was able to use and had stable development of the picture exchange communication system. From both procedures, the study results indicated that the case study had better development of communication skills as he was able to express his need to use a toilet by using the picture exchange communication system on his own. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การฝึกการเข้าห้องน้ำสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาและบกพร่องทางสติปัญญาโดยใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพและการเสริมแรงทางบวก | en_US |
dc.title.alternative | Toilet training for a child with speech and language impairments and intellectual disabilities by using picture exchange communication system and positive reinforcement | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | เด็กพิการ -- การสื่อสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กพิการ -- การศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กพิการ -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กพิการ -- การสื่อสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การสื่อทางภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | ห้องน้ำ | - |
thailis.controlvocab.thash | การขับถ่าย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการฝึกการบอกความต้องการเข้าห้องน้ำสำหรับกรณีศึกษาที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาและบกพร่องทางสติปัญญาโดยใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพและการเสริมแรงทางบวก กรณีศึกษาเป็นเด็กชาย จำนวน 1 คน อายุ 14 ปี แพทย์วินิจฉัยว่ามีความบกพร่องทางการพูดและภาษา และบกพร่องทางสติปัญญา มีปัญหา ทางการสื่อสาร ไม่สามารถบอกความต้องการของตนเองได้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบสำรวจตัวเสริมแรงทางบวก 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการสื่อสารแลกเปลี่ยนภาพ เพื่อบอกความต้องการปัสสาวะ 3) แผนการสอนเฉพาะบุคคล หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ไปฉี่ในห้องน้ำกันนะ จำนวน 3 แผน การเก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2564 การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า กรณีศึกษามีทักษะการสื่อสารโดยใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพ ที่สูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการวิจัยโดยมีค่าร้อยละ ก่อนการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ร้อยละ 0.00 ขั้นตอนที่ 2 (2A – 1) ร้อยละ 0.00 และขั้นตอนที่ 2 (2A – 2) ร้อยละ 0.00 หลังการใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพและการเสริมแรงทางบวก พบว่า กรณีศึกษาสามารถบอกความต้องการ ขั้นตอนที่ 1 ได้ร้อยละ 100 ขั้นตอนที่ 2 (2A – 1) ร้อยละ 100 และขั้นตอนที่ 2 (2A – 2) ร้อยละ 100 และหลังการฝึกการใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพและการเสริมแรงทางบวกผ่านไปแล้ว 10 วัน กรณีศึกษายังสามารถและมีพัฒนาการคงที่ในการใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพ ทั้ง 2 ขั้นตอน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ากรณีศึกษามีพัฒนาการด้านการสื่อสารที่ดีขึ้น สามารถบอกความต้องการฉี่โดยใช้ระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนรูปภาพได้ด้วยตนเอง | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610232058 นางสาวอรทัย ไชยวงค์.pdf | 6.78 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.