Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.advisorAnuphak Saosaovaphak-
dc.contributor.authorWang, Yunen_US
dc.date.accessioned2023-12-02T03:25:03Z-
dc.date.available2023-12-02T03:25:03Z-
dc.date.issued2023-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79222-
dc.description.abstractThis study analyzes the dependence structure between China’s carbon and energy markets before and after the COVID-19 pandemic by dividing the data into Regime 1 and Regime 2. Hubei and Guangdong carbon pilots represent China’s carbon market, while coal, crude oil, and new energy represent China’s energy market. The log return series are estimated by the ARMA-GARCH-GED model and copulas. Firstly, according to the Akaike information criterion, it is known that the Clayton copula has the worst performance. Our findings suggest that the dependence structure is symmetric except for the Guangdong carbon pilot and the crude oil market. Secondly, it turns out that the dependence structure changes in different regimes by comparing the copula parameters and symbols in the two regimes. For the Guangdong carbon pilot, the coefficient between it and the new energy market changes from -0.16 to 0.01. Regarding the Hubei carbon pilot, the dependence between it and the coal market is most affected. The empirical results provide helpful strategies for policymakers, enterprises, and investors with portfolios and decisions.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCarbon Marketen_US
dc.subjectEnergy Marketen_US
dc.subjectCopulaen_US
dc.subjectDependence Structure.en_US
dc.titleThe Impact of the covid-19 pandemic on the dynamic dependence structure of the China’s carbon market and energy marketen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของการระบาดใหญ่ของโควิด -19 ที่มีต่อโครงสร้างการขึ้นอยู่กับกันแบบไดนามิกของตลาดคาร์บอนและตลาดพลังงานในประเทศจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPower resources -- China-
thailis.controlvocab.lcshPower resources -- Marketing-
thailis.controlvocab.lcshCarbon -- Marketing-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease) -- Economic aspects-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 Pandemic, 2020--
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างการขึ้นอยู่กับกัน (Dependence Structure) ระหว่างตลาดคาร์บอนและพลังงานของจีนก่อนและหลังการระบาดใหญ่ของโควิด-19 โดยแบ่งข้อมูลออกเป็น สถานการณ์ที่ 1 และ สถานการณ์ที่ 2 โดยการนี้กำหนดให้การทดสอบนำร่องของตลาดคาร์บอนในมณฑลหูเป่ยและกวางตุ้งเป็นตัวแทนของตลาดคาร์บอนของจีน ในขณะที่ถ่านหินน้ำมันดิบ และพลังงานใหม่ เป็นตัวแทนของตลาดพลังงานของจีน ผลตอบแทนด้านอนุกรมเวลาถูกประมาณการณ์โดยโมเดล ARMA-GARCH-GED และ คอปูลา (Copula) ประการแรก จากเกณฑ์ข้อมูลของอาคาอิเกะ (Akaike) เป็นที่ทราบกันดีว่า เคลย์ตัน คอปูลา (Clayton Copula) นั้นมีประสิทธิภาพที่ต่ำที่สุด ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าโครงสร้างการขึ้นอยู่กับกันมีความสมมาตร ยกเว้นการทดลองศึกษาในตลาดคาร์บอนของมณฑลกวางตุ้งและตลาดน้ำมันดิบ ประการที่สอง ปรากฎว่าโครงสร้างการขึ้นอยู่กับกันเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ที่แตกต่างกันโดยการเปรียบเทียบพารามิเตอร์และสัญลักษณ์ของคอปปูลาในสถานการณ์ทั้งสอง สำหรับโครงการนำร่องคาร์บอนของมณฑลกวางตุ้งค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างตลาดพลังงานใหม่เปลี่ยนจาก - 0.16 เป็น 0.01นอกจากนี้การศึกษาในโครงการนำร่องของหูเป่ย โครงสร้างการขึ้นอยู่กับกันกับตลาดถ่านหินได้รับผลกระทบมากที่สุด ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ให้กลยุทธ์ที่เป็นประโยชน์สำหรับผู้กำหนดนโยบาย องค์กร และนักลงทุนที่มีพอร์ตการลงทุนและการตัดสินใจen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641635831-Yun Wang.pdf3.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.