Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTeera Chewonarin-
dc.contributor.authorWeerachai Janthanaen_US
dc.date.accessioned2023-11-20T09:47:34Z-
dc.date.available2023-11-20T09:47:34Z-
dc.date.issued2021-06-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79210-
dc.description.abstractNga-kee-mon (Perilla frutescens; PF) is a plant in the mint family. Its leaves and seeds are mostly consumed in the Northern of Thailand. In the production of PF seed oil, PF seed residue remained largely are useless and not interesting to use. Although, the nutrients and bioactive compounds of PF seed residue are previously reported, the biological activities of PF seed residue are limited. Therefore, this study aimed to investigate the chemoprotective action of PF seed residue crude ethanolic extract (PCE) on the inflammatory induced promotion stage of rat colon carcinogenesis and cell culture models. To determine the effect of PCE on aberrant crypt foci (ACF) progression, male Wistar rats were initiated ACF formation by injection with 40 mg/kg body weight of dimethylhydrazine (DMH) once a week for 2 weeks. After that, rats were induced inflammation to promote ACF growth by drinking 1% w/v of dextran sulfate sodium (DSS) instead of drinking water for 1 week. After 2 weeks of DSS administration, rats were orally administrated by PCE at 0.1 and 1 g/kg body weight /day until week 15. Then all rats were sacrificed and the number, the distribution and multiplicity of ACF were determined. During experimental period, the blood samples were taken in week-3 (after received DMH), week-5 (after 2-week DSS administration) and week-10 (after 5-week oral gavage with PCE) to evaluate serum pro-inflammatory cytokines including interleukin-6 (IL-6), interleukin-1β (IL-1β) and tumor necrosis factor alpha (TNF-α). The results shown that PCE 1 g/kg body weight exhibited the reduction of ACF number (66.46%) compared to DMH+DSS alone (P<0.01), whereas rats received PCE at 0.1g/kg body weight the ACF count was approximately 35.2% (P˂0.01) lower than the group of DMH and DSS alone. However, there was a downward trend of ACF multiplicity in rats which were received PCE, but there was not statistical difference. When measuring the serum level of inflammatory cytokine of rats treated with DMH and DSS, the levels of IL-6, IL-1β, and TNF-α were significantly increased when compared to the control group. Whereas, after 5-week oral gavage with PCE, the serum level of all cytokines was significantly decreased (P<0.01). In addition, the study of PCE on the expression of inflammatory cytokines in rat colonic epithelial cells by real-time PCR showed that the expression of IL-6, IL-1β, and TNF-α were down regulated by a high dose of PCE feeding in DMH+DSS rats. The results suggested that PCE might inhibit ACF promotion from DMH and DSS induction via the modulation of inflammatory microenvironment in rat colon. Additionally, the mechanism of PCE on inflammation and cancer growth induced by inflammatory cytokines was investigated in vitro. The results showed that PCE could inhibit all cytokines secretion (IL-6, IL-1β and TNF-α) in cell culture media of lipopolysaccharide (LPS)-induced RAW 264.7 cell. Then, the effect of PCE on inflammatory-response of human colon cancer cell lines (HCT-116 and HT-29) was determined. The results demonstrated that PCE inhibited IL-6-induced cell proliferation in both HCT-116 and HT-29. Therefore, PCE could either modulate the inflammation induced by bacterial toxin or suppress the proliferation of cancer cell line which was induced by inflammatory process. In conclusion, the active components in Perilla frutescens seed residue showed the preventive effect on the aberrant colonic epithelial cell progression by modulating inflammatory microenvironment from the infiltrated macrophage or inflammatory response of aberrant cells. Therefore, the mechanisms study of PF seed residue against inflammation and inflammatory-induced colon cancer progression needs to be further investigate.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInhibitory activities of ethanolic extract of perilla frutescens seed residue on inflammation and cancer promotion of colon in ratsen_US
dc.title.alternativeฤทธิ์ยับยั้งของสารสกัดเอทานอลของกากเมล็ดงาขี้ม้อนต่อการอักเสบ และการส่งเสริมมะเร็งของลำไส้ใหญ่ในหนูขาวen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshBiochemistry-
thailis.controlvocab.lcshIntestine, Large -- Cancer)-
thailis.controlvocab.lcshColitis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงาขี้ม้อน (Perilla frutescens) เป็นพืชในตระกูลมิ้นท์ ที่มีการรับประทานเมล็ดและใบสดใน ภาคเหนือของประเทศไ ทขมาขาวนาน ซึ่งในปัจุบันนิยมนำส่วนเมล็ดไปผลิตน้ำมันเพื่อการค้ ทำให้ เหลือส่วนกากเมล็ดที่เป็นของเหลือทิ้ง และมักไม่ได้รับความสนใจมากนัก จากการศึกษาพบว่า กาก เมล็ดงาขี้ม้อนยังมีสารพฤกยเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพหลากหลายเหลืออยู่ แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มี การศึกษาถึงฤทธิ์ทางชีวภาพของส่วนดังกล่าวมากนัก ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงมีเป้าหมายที่จะ ศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อน ต่อกระบวนการอักเสบที่ส่งเสริมมะเริ่งในลำไส้ใหญ่ในหนู ขาวและในเซลล์เพาะเลี้ยง การศึกษาผลของสารสกัดเมล็ดงาขี้ม้อน ต่อการส่งเสริมรอยโรคเริ่มต้นของ มะเร็งลำไส้ใหญ่นั้น หนูขาวจะ ได้รับการเหนี่ยวนำให้เกิดการสร้างรอยโรค ด้วยการดไดเมทิล ไฮดราซีน 40 มก./กก.น้ำหนักตัว สัปดาห์ละ 1 ครั้งเป็นเวลา 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นจะได้รับการ ส่งเสริมการเจริญของรอยโรค โดยกระบวนอักเสบ ด้วยการดื่ม 1% ของเด็กซ์แตรนซัลเฟต โซเดียม แทนน้ำดื่มทุกวันเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ต่อมา 2 สัปดาห์หลังจากได้รับเด็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียม หนูจะ ได้รับการป้อนสารสกัดกากเมล็คงาขี้ม้อนความเข้มข้น 0.1 และ 1 ก./กก.น้ำหนักตัว ทุกวันจนถึง สัปดาห์ที่ 15 ของการทคลองจึงทำการการุณยฆาต และตรวจวิเคราะห์การเจริญของรอยโรค ซึ่งใน ระหว่างการทดลองจะ ทำการเก็บเลือดในสัปดาห์ที่ 3 (หลังจากได้รับ ไดเมทิลไฮคราชีน) สัปดาห์ที่ 5 (2สัปดห์ หลังจากได้รับเด็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียม) และสัปดาห์ที่ 10 (หลังจากได้รับการป้อนสาร สกัด สัปดาห์) เพื่อทำการตรวจวิเคราะห์ระดับของไซโตไคน์ 3 ชนิด ได้แก่ อินเตอร์ลิวคิน-ซิกซ์ อินเตอร์ลิวดิน-วันเบค้า และ ทูเมอร์เนค โครซิสแฟกเตอร์-แอลฟา ในซีรั่ม พบว่าสารสกัดกากเมล็ด งาขี้ม้อนความเข้มข้นสูง สามารถลดจำนวนของรอยโรก (66.46%) ในลำไส้ของหนูที่ได้รับไดเมทิลฮดราซีน และเค็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียมได้ (P <0.01) ในขณะที่หนูได้รับสารสกัดกากเมล็ดงาขึ้ ม้อนความเข้มข้นต่ำ มีจำนวนของรอยโรคลดลงไปประมาณ 35.20% (P0.01) แต่เมื่อพิจารณาถึง ขนาดของรอยโรค ในกลุ่มที่ได้รับสารสกัดกากงาขี้ม้อน จะมีแนวโน้มลคลงแต่ไม่มีความแตกต่างทาง สถิติ เมื่อวัดของระดับไซโตไคน์ที่เกี่ยวกับการอักเสบในซีรั่มของหนูที่ได้รับไดเมหิลไฮคราซีน และ เด็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียม จะพบว่ามีระดับไซโตไคน์ทั้ง 3 ชนิด เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับ กลุ่มควบคุม แต่หลังจากที่หนูได้รับการป้อนสารสกัด 5 สัปดาห์ จะมีระดับไซโตไคน์ทั้ง 3 ชนิดใน ซีรั่มที่ลดลง เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับไดเมทิลไฮดราซีน และเด็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียมเพียงอย่าง เดียว (P <0.01) นอกจากนี้การศึกษาผลของสารสกัดกากเมล็ดงาขี้ร้อนต่อการแสดงออกของไซโต ไคน์ทั้ง 3 ชนิด ในระดับเมเซนเจอร์อาร์เอ็นเอจากเซลล์เยื่อบุลำไส้ด้วยวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ พบว่าการ แสดงออกของไซโตไคน์ทั้ง 3 ชนิดถูกขับยั้งในเซลล์เชื่อบุลำไ ส้ของหนูที่ได้รับไดเมหิลไฮดราชีน และเด็กซ์แตรนซัลเฟตโซเดียมร่วมกับสารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อนความเข้มข้นสูง ผลที่ได้ชี้ให้เห็นว่า สารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อนสามารถขับยั้งการส่งเสริมรอยโรค ผ่านการควบคุมสภาวะแวคล้อมของ กระบวนการอักเสบบริเวณเยื่อบุลำไส้ของหนู จึงได้ศึกษาต่อไปถึงผลของสารสกัดกากเมล็คงาขี้ม้อน ต่อกลไกการต้านการอักเสบและการต้านการเจริญของเซลล์มะเร็งที่เหนี่ยวนำโดยกระบวนการอักเสบ ระดับหลอดทดลอง ผลการทดลองพบว่าสารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อนสามารถขับยั้งการหลั่งไซโตไคน์ ทั้ง 3 ชนิด ในเซลล์แมคโครเฟจ ชนิด RAW 264.7 ที่ถูกกระตุ้นด้วยไล ไปโพลีแซคกาไรด์ และเมื่อศึกษาถึงผลต่อการตอบสนอง การอักเสบของเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่เพาะเลี้ยงชนิด HCT-116 และ HT-29 พบว่าสารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อนสามารถขับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งลำไ ส้ใหญ่เพาะเลี้ยง ที่ถูกกระตุ้นด้วยไซโตไคน์ ชนิดอินเตอร์ลิวคิน-ซิกซ์ ทั้งเซลล์ HCT 116 และ HT-29 ดังนั้นสารสกัด กากงาขี้ม้อนสามารถออกฤทธิ์ทั้งการควบคุมกระบวนการอักเสบของเซลล์แมคโครเฟจ ที่กระตุ้นด้วย สารพิษจากแบคที่เรีย และ ไปขับยั้งการเจริญของเซลล์มะเริ่งลำไส้ที่ตอบสนองต่อกระบวนการอักเสบ กล่าวโดยสรุป สารสกัดกากเมล็ดงาขี้ม้อนสามารถขับยั้งการส่งเสริมการพัฒนารอยโรคเริ่มต้นใน ลำไส้ใหญ่ โดยไปลดกระบวนการอักเสบของเซลล์แมคโครเฟจ และการตอบสนองของเซลล์เขื่อบุ ลำไส้ ดังนั้น กากเมล็ดงาขี้ม้อนจึงเป็นที่น่าสนใจ ในการศึกษาถึงกลไกที่ชัดเจนในการยับยั้ง กระบวนการอักเสบ และการขับยั้งมะเร็งลำไส้ใหญ่จากการอักเสบต่อไปen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620731006 วีรชัย จันทนะ.pdf3.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.