Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกันยารัตน์ คอวนิช-
dc.contributor.advisorนฤมนัส คอวนิช-
dc.contributor.authorพงษ์ศักดิ์ สลีแดงen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T10:34:38Z-
dc.date.available2023-10-28T10:34:38Z-
dc.date.issued2565-01-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79117-
dc.description.abstractThis study was a matched cross-sectional study to determine the relationship between dysphagia and undernutrition, as well as dietary consumption patterns and dysphagia in older adults. The participants in this research were over the age of 60, totaling 268 people. Collected data, nutritional status assessment (MNA), dysphagia assessment (EAT-10), oral examination, and recorded food consumption by a semi-quantitative food frequency questionnaire. General data were analyzed using descriptive statistics. The effect of dysphagia on undernutrition was analyzed by Adjusted Odds Ratio, and the relationship of food consumption pattern to dysphagia was analyzed with Chi-square statistics. The study revealed the average age of the undernutrition and normal nutrition groups was 68.9 + 6.1 years and 68.8 t 6.0 years, respectively, according to the research. The activities of daily living (ADL) of the malnourished group was 19.7 - 0.9 and the normal nutrition group was 19.8 ± 0.7. Undernutrition and normal nutrition had nutritional status (MNA) of 21.0 ± 2.2 and 25.4 ± 1.4, respectively, with a statistically significant difference at the 0.05 level. Older adults with dysphagia were 5.1 times more likely to experience undernutrition than older adults without dysphagia at p 0.05 (95% CI = 1.83-14.32). There was a statistically significant difference between the meal patterns among the dysphagia older adults' group and the normal-swallowing older adults' group at the 0.05 level. This study suggests that dysphagia was associated with the nutritional status of the subjects, and dietary patterns were associated with dysphagia. It can be used to establish recommendations for dietary consumption and selection of dietary patterns suitable for swallowing in older adults.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาวะกลืนลำบากen_US
dc.titleผลของภาวะกลืนลำบากต่อภาวะโภชนาการและรูปแบบการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeEffect of Dysphagia on the older adults’ nutritional status and meal patternen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการกลืน-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- โภชนาการ-
thailis.controlvocab.thashการเลือกอาหารในวัยสูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashทุพโภชนาการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบ Matched Cross-sectional Study เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของ ภาวะกลืนลำบากกับภาวะขาดสารอาหารและความสัมพันธ์ของรูปแบบการรับประทานอาหารกับ ภาวะกลืนลำบากในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 268 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากการประเมินภาวะโภชนาการ ภาวะกลืนลำบาก การตรวจสภาวะช่อง ปากและแบบบันทึกความถี่การบริ โภคอาหารกึ่งปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป โคยใช้สถิติเชิง พรรณนา ผลของภาวะกลืนลำบากต่อภาวะขาดสารอาหารวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Adjusted Odds Ratio และความสัมพันธ์ของรูปแบบการรับประทานอาหารกับภาวะกลืนลำบาก วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ Chi-square Test ผลการศึกษาพบว่า อายุเฉลี่ยของกลุ่มภาวะขาดสารอาหารและกลุ่มภาวะโภชนาการปกติ เท่ากับ 68.9 ± 6.1 ปี และ 68.8 ± 6.0 ปี ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ของ กลุ่มภาวะขาดสารอาหารเท่ากับ 19.7 ± 0.9 คะแนน และกลุ่มภาวะโภชนาการปกติเท่ากับ 19.8 ± 0.7 คะแนนตามลำคับ ภาวะโภชนาการของกลุ่มภาวะขาดสารอาหารและกลุ่มภาวะโภชนาการปกติเท่ากับ 21.0 ± 2.2 และ 25.4 ± 1.4 คะแนน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบากมี โอกาสพบภาวะขาดสารอาหารได้ 5.1 เท่า ของผู้สูงอายุที่ ไม่มีภาวะกลืนลำบากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (95% CI = 1.83 - 14.32) และรูปแบบการ รับประทานอาหารของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กับภาวะกลืนลำบากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าภาวะกลืนลำบากมีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของกลุ่มตัวอย่าง และรูปแบบการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กับภาวะกลืนลำบาก ข้อมูลเหล่านี้ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้เพื่อวางแผนในการให้คำแนะนำในการเลือกรับประทานอาหาร การเลือก รูปแบบของอาหารให้เหมาะสมต่อภาวะกลืนลำบากในผู้สูงอายุen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931049 พงษ์ศักดิ์ สลีแดง.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.