Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorOnnida Wattanarat-
dc.contributor.authorYanisa Vetchapitaken_US
dc.date.accessioned2023-10-28T10:32:17Z-
dc.date.available2023-10-28T10:32:17Z-
dc.date.issued2021-12-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79116-
dc.description.abstractBackground: The inferior alveolar nerve block (IANB) alone is not efficient enough to provide profound pulpal anesthesia in mandibular teeth, hence supplemental injection after IANB has been implemented to increase success. The success of intraseptal injection for various dental procedures has recently been reported, but not for deep carious young permanent mandibular molars with irreversible pulpitis. Objectives: To compare the intra-operative pulpal anesthetic efficacy between reference group (IANB supplemented with buccal infiltration alone) and index group (IANB supplemented with a combination of mandibular buccal infiltration (MBI) and intraseptal injection (ISA) in vital deep carious young permanent mandibular molars, diagnosed with irreversible pulpitis. Materials and methods: This randomized superiority trial included 35 permanent mandibular molars with irreversible pulpitis in patients aged 6 to 18. Both the reference (n=16) and index (n=19) groups received ~2.55 ml of 4% articaine with 1:100,000 epinephrine. Pre-operative pulpal anesthetic success was defined if the tooth responded negative to Endo-Frost® cold test whereas intra-operative success was defined as a patient reporting a pain score from the Wong-Baker FACES Pain Rating Scale ≤ four, requiring no additional injections, and completing of the treatment. Results: The overall success rate following IANB was 27.3%. The absolute difference between the pre-operative pulpal anesthesia success rates of the index group (89.5%) and of the reference group (68.8%) was 20.7% (95% CI, -5.8- 47.3.p= 0.207). The intra-operative pulpal anesthesia success rates of the index and reference groups were 47.4% and 60.0%, respectively. Their absolute differences in the intra-operative phase were -12.6% (95% CI, -46.1% - 20.8%) for the unadjusted model and-6.3% absolute difference (95% CI, -43.3% - 30.6%) when the model was adjusted with the variable types of vital pulp therapy. Conclusion: Based on the result from this interim analysis, in vital deep carious young permanent mandibular molars diagnosed with ireversible pulpitis, the superiority of the intra-operative pulpal anesthetic efficacy from the IANB supplemented with a combination of MBI and ISA over the IANB supplemented with MBI alone could not be demonstrated. However, a larger sample is required to verify this finding.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePulpal anesthetic efficacy of a combination of supplementary intraseptal and Buccal Infiltration in young permanent Mandibular Molars with Irreversible Pulpitis: a randomized controlled trialen_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพในการระงับความรู้สึกเนื้อเยื่อในของการฉีดยาชาเสริมด้วยเทคนิคอินทราเซปตัลร่วมกับเทคนิคแทรกซึมผ่านเนื้อเยื่อด้านใกล้แก้มในฟันกรามล่างแท้อายุน้อยที่มีเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDentistry-
thailis.controlvocab.lcshAnesthesia in dentistry-
thailis.controlvocab.lcshAnesthetics-
thailis.controlvocab.lcshMolars-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทนำ: การระงับความรู้สึกเส้นประสาทอินฟีเรียร์อัลวีโอลาเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการ ระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อในในฟันกรามล่าง ดังนั้นการฉีดยาชาเสริมภายหลังจากการระงับ ความรู้สึกเส้นประสาทฟีเรียร์อัลวีโอลาจึงเป็นสิ่งที่มาเสริมอัตราความสำเร็จให้เพิ่มขึ้น ได้ ใน ปัจจุบันมีการ รายงานถึงอัตราความสำเร็จของการฉีดยาชาด้วยเทคนิคอินทราเซปตัลสำหรับหัตถการ ทางทันตกรรมต่างๆ แต่กลับไม่พบการรายงานถึงอัตราความสำเร็จในฟันกรามล่างแท้อายุน้อยที่มี เนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อในขณะรักษา ระหว่างกลุ่มควบคุม (การระงับความรู้สึกเส้นประสาทฟีเรียร์อัลวีโอลาเสริมด้วยเทคนิคแทรกซึม ผ่านเนื้อเยื่อด้านใกล้แก้มเพียงอย่างเดียว) และกลุ่มทคลอง (การระงับความรู้สึกเส้นประสาทฟีเรียร์อัลวีโอลาเสริมด้วยเทคนิคอินทราเซปตัล ร่วมกับเทคนิคแทรกซึมผ่านเนื้อเยื่อด้านใกล้แก้ม) ในฟัน กรามล่างแท้อายุน้อยที่มีเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้ วิธีการทดลอง การศึกษาเชิงทดลองทางคลินิกแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมเพื่อทดสอบความ เหนือกว่านี้ ได้ทำการรวบรวมฟันกรามล่งแท้อายุน้อยที่มีเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้ จำนวน 35 ซี่ ของผู้ป่วยอายุ 6-18 ปี โดยผู้ป่วยทั้งในกลุ่มควบคุม (จำนวน 16 คน) และกลุ่มทคลอง (จำนวน 19 คน) ได้รับการฉีดยาชา 4% อาร์ติเคนที่มีเอพริเนฟริน 1:100,000 ในปริมาณประมาณ 2.55 มิลลิลิตร ความสำเร็จในการระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อในก่อนรักษาถูกนิยามโดย การ ไม่ตอบสนอง ต่อการทคสอบด้วยความเย็นจากเอน โดฟรอส ในขณะที่ความสำเร็จในการระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อ ในขณะรักษาถูกนิยามโดยผู้ป่วยระบุคะแนนในแผ่นภาพประเมินความเจ็บปวดแบบวองเบเกอร์น้อย กว่าหรือเท่ากับ4 ไม่ต้องการฉีดยาชาเสริม และสามารถรับการรักษาจนเสร็จสิ้นได้ ผลการทดลอง: อัตราความสำเร็จ โดยรวมของการระงับความรู้สึกเส้นประสาทฟีเรียร์อัลวีโอลา เพียงอย่างเดียวอยู่ที่ร้อยละ 27.3 ค่าความแตกต่างสัมบูรณ์ระหว่างอัตราความสำเร็จในการระงับ ความรู้สึกของเนื้อเยื่อในก่อนรักษาในกลุ่มทดลอง (ร้อยละ 89.5) และกลุ่มควบคุม (ร้อยละ 68.8) เท่ากับ 20.7% (95% CI, -5.8 - 47.3, p = 0.207) อัตราความสำเร็จในการระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อ ในขณะรักษาในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเท่ากับร้อยละ 47.4 และร้อยละ 60.0 ตามลำดับ ค่าความ แตกต่างสัมบูรณ์ระหว่างอัตราความสำเร็จในการระงับความรู้สึกของเนื้อเยื่อในขณะรักษาเท่ากับ - 12.6% (95% CI, -46.1% - 20.80) สำหรับโมเดลที่ไม่ได้รับการกำหนดปรับ และ -6.3% (95% CI, -43.3% - 30.6%) สำหรับโมเดลที่ได้รับการกำหนดปรับแล้ว จากการปรับด้วยชนิดของการรักษาด้วย การคงความมีชีวิตของฟัน บทสรุป: จากผลการวิเคราะห์ก่อนการวิจัยสิ้นสุด (Interim analysis) ในฟันกรามล่างแท้อายุ น้อยที่มีเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้ ไม่พบความเหนือกว่าของอัตราความสำเร็จในการระงับ ความรู้สึกของเนื้อเยื่อในขณะรักษาด้วยการ ระงับความรู้สึกเส้นประสาทอินฟีเรียร์อัลวีโอลาเสริมด้วย เทคนิคอินทราเซปตัลร่วมกับเทคนิคแทรกซึมผ่านเนื้อเยื่อด้านใกล้แก้ม ต่อ การระงับความรู้สึก เส้นประสาทอินฟีเรียร์อัลวีโอลาเสริมด้วยเทคนิคแทรกซึมผ่านเนื้อเยื่อด้านใกล้แก้มเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตาม จำเป็นต้องมีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อยืนยันผลการศึกษานี้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931015 ญาณิสา เวชชพิทักษ์.pdf30.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.