Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79112
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Siriporn Chattipakorn | - |
dc.contributor.advisor | Nipon Chattipakorn | - |
dc.contributor.advisor | Suchaya Luewan | - |
dc.contributor.advisor | Chanisa Thonusin | - |
dc.contributor.author | Huang, Lingling | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-28T10:18:15Z | - |
dc.date.available | 2023-10-28T10:18:15Z | - |
dc.date.issued | 2022-01-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79112 | - |
dc.description.abstract | Objective: There are about one-third of women with gestational diabetes mellitus (GDM) fail in their glycemic control following a diet modification. GDM has been associated with gut dysbiosis. However, the role of gut microbiota in GDM with insulin intervention remains unknown. In addition, the impact of gut dysbiosis in GDM mothers on their newborns is unclear. Here we compared the composition of gut microbiota in GDM women with and without insulin therapy before and after the intervention. The gut microbiota of their newborns was also analyzed. We also investigated the association between insulin therapy, maternal gut microbiota, and neonatal gut microbiota. Methods: Seventy-one pregnant women were divided into the non-GDM group (n=33) and GDM group (n=38). All of the GDM participants were received dietary recommendations. During follow-up, 30 GDM women achieved glycemic control goals with dietary interventions, assigned to the GDM-D group. While 8 women with GDM received insulin intervention since dietary intervention did not achieve glycemic control goals, assigned to the GDM-I group. The blood and feces of the participants were obtained before the intervention (at the time of confimed GDM, 24 to 28 weeks of gestation) and after the intervention (at the time of before delivery, ≥37 weeks of gestation). The neonatal meconium (within 24 hours after birth) and first feces (within 48 hours after birth) were also collected. Results: Blood glucose levels before the intervention were elevated in either GDM- D or GDM-I group when compared with those of the non-GDM group. However, the hyperglycemia before intervention was not different between GDM-D and GDM-I groups. Interestingly, the total cholesterol (TC) and low-density lipoprotein (LDL) levels were observed to be decreased in the GDM-I group than those of the GDM-D group before intervention. Meanwhile, no variations of triglycerides (TG) levels were observed among the tree groups before intervention. In terms of gut microbiota analysis, the proportion of Clostridiales, Lactobacillales, and Bacteroidetes before the intervention were elevated in the GDM-I group than those of the other two groups. On the other hand, no variations of gut microbiota were found in the GDM-D group before the intervention. when compared to the non-GDM group. After the intervention, blood glucose levels were decreased in both GDM-D and GDM-I groups but still elevated than those of the non- GDM group. The TC and LDL levels, which were previously decreased in GDM-I women before the intervention, were not statistically different from the other two groups after intervention. However, the triglycerides (TG) from before to after the intervention period were found to increase in both GDM-D and GDM-I groups, respectively. The elevations in Clostridiales, Lactobacillales, and Bacteroidetes were found to decrease to the normal levels in the GDM-I group after insulin intervention, respectively. In contrast, the elevation in Firmicutes/Bacteroidetes (F/B) ratio was observed in the GDM-D than those of the non-GDM and GDM-I counterparts. These increased F/B ratios were found only in newborns of the GDM-D mothers. Interestingly, the gut microbiota composition of mothers and newborns was found to correlate with the maternal glycemic and lipidic profiles. Conclusions: Early gut dysbiosis could be an indicator of insulin intervention in severe GDM women. The gut dysbiosis of the GDM mother could be attenuated by insulin intervention. The beneficial effect of insulin intervention on maternal gut microbiota can be transmitted to their newborns. Thus, may reduce the incidence of diabetes in the children of GDM mothers later in life. Insulin intervention may be considered as a preferred candidate for women with generalized GDM, based on its role in alleviating gut dysbiosis in GDM mothers and their offspring. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Effects of insulin therapy on Gut Microbiota of Gestational Diabetes Mellitus (GDM) and their newborns | en_US |
dc.title.alternative | ผลของการรักษาด้วยฮอร์โมนอินซูลินต่อจุลินทรีย์ในลำไส้ของผู้ป่วยเบาหวานขณะต้ั้งครรภ์และทารก | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Insulin -- Therapeutic use | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Diabetes in pregnancy | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Microbiology | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Bacteria | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษา: ประมาณหนึ่งในสามของผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ไม่สามารถ ความคุมระดับน้ำตาลด้วยการควบคุมอาหารเพียงอย่างเดียวและเป็นที่ทราบกันดีว่าโรคเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์กับความไม่สมดุลของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารอย่างไรก็ตามบทบาท ของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารต่อการรักษาด้วยอินซูลินใน โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์นั้นยังไม่ เป็นที่ทราบแน่ชัดนอกจากนี้ยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับผลของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารของ มารคาต่อทารกในครรภ์ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงทำการเปรียบเทียบองค์ประกอบของจุลชีพประจำถิ่นทาง เดินอาหารระหว่างผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่ได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยอินซูลินยิ่งไปกว่า นั้นองค์ประกอบของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารในทารกของมารดาทั้งสองกลุ่มก็ถูกนำมาเปรียบ เทียบด้วยเช่นกันและท้ายที่สุดคณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรักษาด้วยอินซูลิน องค์ประกอบของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารในมารคาและทารกของผู้ป่วยเบาหวาน ขณะตั้ง- วิธีการศึกษา:สตรีตั้งครรภ์จำนวน71คนได้ถูกแบ่งออกเป็น2กลุ่มได้แก่กลุ่มที่ไม่เป็นเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์(33คน)และกลุ่มที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์(38คน)ระหว่างการตรวจติดตามกลุ่มที่เป็น เบาหวานขณะตั้งครรภ์นั้นมี30คนที่สามารถรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยการคุมอาหารเพียงอย่าง เดียวและอีกรคนที่ต้องรักยาระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการใช้อินซูลินร่วมด้วยโดยเลือดและอุจจาระ ของหญิงตั้งครรภ์ได้ถูกเก็บ2ครั้งได้แก่1.ณวลาที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือ ขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ และ หลังรักษา ช่วงก่อนคลอดช่วงที่อายุครรภ์ ตั้งแต่ 37 สัปดาห์ นอกจากนี้ขี้เทาของทารก(ภายใน24ชั่วโมงหลังคลอด)และอุจจาระครั้งแรกของทารก (ภายใน48ชั่วโมงหลังคลอด) ได้ทำการถูกเก็บด้วยเช่นกัน ผลการศึกษา:เมื่อเทียบกับมารดาที่ไม่ได้เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ระดับน้ำตาลในเลือดที่อายุ ครรภ์24-48สัปดาห์มีค่าสูงกว่าในผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์โคยค่าดังกล่าวไม่มีความแตกต่างกัน ระหว่าง2กลุ่มของผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่น่าสนใจคือค่า โคเลสเตอรอล โดยรวมและแอลดีแอล โคเลสเตอรอลในเลือดที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ของผู้ป่วยกลุ่มที่จะต้องได้รับอินซูลินมีค่าต่ำกว่า กลุ่มที่ไม่ต้องได้รับอินซูลินแต่ค่าไตรกลีเซอไรด์ในเลือดที่อายุครรภ์ 24-28สัปดาห์นั้นไม่มีความ แตกต่างกันระหว่าง 3 กลุ่ม ในแง่ของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหาร แบคที่เรียชนิดคลอสทริไดอาเลส แลดโตบาซิลลาเลส และแบคทีรอยดิติส ที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์มีค่าสูงกว่าในผู้ป่วยเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์ที่จะต้อง ได้รับอินซูลิน เมื่อเทียบกับอีก 2 กลุ่ม ในทางตรงกันข้าม ไม่มีความแตกต่าง ของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ระหว่างหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เป็น เบาหวานและผู้ป่วยที่ไม่ต้องได้รับอินซูลินในช่วงใกล้ดลอดระดับน้ำตาลในเลือคของผู้ป่วยเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์มีค่าลดลงทั้ง2กลุ่มเมื่อเทียบกับช่วงอายุครรภ์24-28 สัปดาห์ แต่ยังคงมีค่าสูงกว่าหญิง ตั้งครรภ์ที่ไม่เป็นเบาหวานตรงกันข้ามกับที่อายุครรภ์24-28สัปคาห์ค่ำโคเลสเตอรอลโดยรวมและ แอลดีแอลโคเลสเตอรอลในเลือดช่วงใกล้คลอดไม่มีความแตกต่างกันระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับและ ไม่ได้รับอินซูลินนอกจากนี้แบคทีเรียชนิดคลอสทริไดอาเลสแลค โตบาซิลลาเลสและแบคทีรอยคิติส ของผู้ป่วยที่จะต้องได้รับอินซูลินยังลดกลับมาเป็นปกติในช่วงใกล้คลอดในทางกลับกันผู้ป่วยที่ไม่ได้ รับอินซูลินมีอัตราส่วนของเบคทีเรียชนิดเฟอร์มิคิวทิสต่อแบคทีเรียชนิดแบคทีรอยดิติสในช่วงใกล้ คลอดสูงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้เป็นเบาหวานและผู้ป่วยที่ได้รับอินซูลินและการเพิ่มขึ้นดังกล่าวยัง พบในทารกของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับอินซูลินอีกด้วย และที่น่าสนใจคือองค์ประกอบของจุลชีพประจำถิ่น ทางเดินอาหาร ของทั้งมารดาและทารกมีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดของมารดา สรุปผลการศึกษาะความไม่สมดุลของจุลชีพประจำถิ่นทางเดินอาหารในช่วงแรกเริ่มสามารถ เป็นตัวบ่งชี้ความจำเป็นในการใช้อินซูลินของสตรีเบาหวานขณะตั้งครรภ์ซึ่งความไม่สมดุลดังกล่าว สามารถบรรเทาได้ด้วยการรักษาด้วยอินซูลินอีกทั้งยังสามารถส่งต่อความบรรเทานี้ต่อทารกได้ซึ่งอาจ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานของทารกเหล่านี้ในอนาคตดังนั้นอินซูลินจึงถือเป็นยาที่ควร เลือกใช้ในผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620755812 HUANG, LINGLING.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.