Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTerd Disayathanoowat-
dc.contributor.authorNattaphon Suphaphimolen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T08:52:48Z-
dc.date.available2023-10-28T08:52:48Z-
dc.date.issued2022-02-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79103-
dc.description.abstractLanna painting is unique painting of Northern Thai region, it is well-known to the rest of the world. Nowadays, the paintings are normally decay over time. Microorganisms are the important factors that susponsible for the destruction such as, concrete building, mortar and paints color. This study aimed to monitor the painting in archeological places, focusing on the 2 Lanna masterpiece paintings from 19th AD in the Chiang Mai province. Thailand. The microorganisms with the biodegradation activity were identified using molecular method. The result showed that bacteria and fungi isolated from samples showed the biodegradation activity of 33% and 50%, respectively. All fungal isolates were shown their organic acid production activity and some isolates could form the calcium oxalate crystal on the agar. Gammaproteobacteria was the predominant group in both temples whereas, Aspergillus and Neodevriesia were the dominant groups in Buak Krok Luang temple (BK) and Tha Kham temple (TK) respectively. The bacterial finction prediction showed the different bacterial function between the temples, bacterial isolated from BK showed high aerobic respiration function on the other hand, group of biosynthesis was shown in the TK. Fungal ecological functional role was also different between the two locations, aerobic respiration was slightly more abundant in Buak Krok Luang temple while groups of biosynthesis function were more abundant in Tha Kham temple.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleStudy of fungal community of some ancient mural painting in Chiang Mai Province by culture-dependent and culture-independent methodsen_US
dc.title.alternativeการศึกษาชุมชีพของราจากจิตรกรรมฝาผนังโบราณบางแห่งในจังหวัดเชียงใหม่โดยวิธีการเพาะเลี้ยงและไม่เพาะเลี้ยงen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshBuak Krok Luang Temple-
thailis.controlvocab.lcshTha Kham Temple-
thailis.controlvocab.lcshInterior walls -- Microbiology-
thailis.controlvocab.lcshBacteria-
thailis.controlvocab.lcshMicroorganisms-
thailis.controlvocab.lcshFungi-
thailis.controlvocab.lcshMural painting and decoration, Thai -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshMural painting and decoration -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshTemples -- Chiang Mai-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจิตกรรมฝาผนังล้านนา ในภาคเหนือของไทยนั้น มีความเป็นเอกลักษณ์และแตกต่างจากจิตกรรม ฝาผนังจากวัฒนธรรมอื่นๆ ปัจจุบันภาพจิตกรรมฝาผนังต่างๆ นั้นต้องเผชิญกับการเสื่อมสลาย ที่เกิดขึ้น ตามกาลเวลา จุลินทรีย์ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญเกี่ยวกับการเสื่อมสลายทางชีวภาพของภาพจิต กรรม รวมไปถึงวัสดุต่าง ๆ เช่น สิ่งก่อสร้างจากคอนกรีต หินปูน และสีต่าง ๆ ในการศึกษานี้ได้ ทำการศึกษาเกี่ยวกับ ชุมชีพและคุณสมบัติบางอย่างของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่บนภาพจิตกรรมฝาผนังสอง แห่งในช่วงปี ค.ศ. 1900 จากวัดบวกครกหลวง และวัดท่าข้าม ในจังหวัดเชียงใหม่ จากผลการทดสอบ คุณสมบัติการเสื่อมสลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ พบว่าร้อยละ 33 ของแบคที่เรียมีคุณสมบัติในการทำให้ สีที่ใช้ทดสอบเกิดการเปลี่ยนแปลง และร้อยละ 50 ของเชื้อรามีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงลักษณะของ สีที่ใช้ในการทคสอบการเสื่อมสลายทางชีวภาพ จุลินทรีย์ที่แสดงคุณสมบัติทั้งหมดได้ถูกสกัดสาร พันธุกรรมเพื่อใช้ในการระบุชนิดด้วยวิธีทางอนูชีววิทยา นอกจากนี้ ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษา คุณสมบัติในการสร้างกรดอินทรีย์และความสามารถในการตกผลึกแคลเซียมของจุลินทรีย์ โดยพบว่า แบคทีเรียไม่มีความสามารถในการสร้างกรคอินทรีย์และตกผลึกแคลเซียม ในขณะที่เชื้อราบางตัวสามารถ สร้างกรดและตกผลึกแคลเซียม ได้ ผลการศึกษาชุมชีพของจุลินทรีย์ พบว่า Gammaproteobacteria เป็น แบคทีเรียกลุ่มหลักที่พบไค้จากจิตกรรมฝาผนังของวัดทั้งสองแห่ง ในขณะที่ Aspergillus เป็นสกุลของเชื้อ ราที่พบมากในวัดบวกครกหลวง และ Nedevriesia เป็นสกุลที่พบมากในวัดท่าข้าม ผลการศึกษาเกี่ยวกับ ฟังก์ชันของจุลินทรีย์จากภาพเขียนพบว่าฟังก์ชันที่พบจากแบคทีเรียจากวัคทั้งสองแห่งมีความแตกต่างกัน โดยฟังก์ชันหลักที่พบในวัดบวกครกหลวง คือ การหายใจแบบใช้ออกซิเจน ส่วนกลุ่มของฟังก์ชัน การ สังเคราะห์สารชีวโมเลกุล นั้นพบได้มากในวัดท่าข้าม ส่วนเชื้อราจากทั้งสองวัด พบว่ามีฟังก์ซันหลักที่พบ ในวัดทั้งสองนั้นมีความใกล้เคียงกับผลของแบคทีเรียen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620535903 ณัฐพล ศุภพิมล.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.