Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79097
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์-
dc.contributor.authorจุฑามาศ จันต๊ะโมกข์en_US
dc.date.accessioned2023-10-24T00:42:53Z-
dc.date.available2023-10-24T00:42:53Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79097-
dc.description.abstractThe aims of this study were to 1) study level of coping, quality of life, self-efficacy, resilience, and social support among medical students at pre-clinical level in the northern region of Thailand; 2) study the causal relationship of coping and quality of life among medical students at pre-clinical level in the northern region of Thailand. The sample consisted of 312 medical students at pre-clinical level in the northern region of Thailand who were randomly selected by two-stage sampling. Online questionnaires were used as means of data collection. Data were analyzed by descriptive statistics and causal structural model with latent variable. The study findings showed that 1) Overall, the sample had high levels of coping, quality of life, self-efficacy, and social support in all aspects. For resilience, the sample had high levels of pressure resistance and overcoming obstacles, and the highest level of hope and encouragement; 2) The proposed model fitted the empirical data; Chi-square statistics (χ2) = 90.89, df = 48, p-value = .00, RMSEA = .05, SRMR = .06, GFI = .96, AGFI = .92, CFI = .99, CN = 244.79 and all path coefficients were statistically significant at 0.05 levels. Furthermore, the results showed that resilience had the most effected on coping (path coefficient = .80), followed by self-efficacy (path coefficient = .65). Resilience had the most effected on quality of life (path coefficient = .59), followed by self-efficacy and coping (path coefficient = .48 for both).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสามารถในการเผชิญปัญหาและคุณภาพชีวิตของนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกในมหาวิทยาลัยเขตภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeCausal relationship of coping and quality of life among university medical students at pre-clinical level in the Northern Region of Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนักศึกษาแพทย์-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษาแพทย์ -- สุขภาพจิต-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษาแพทย์ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสามารถในการเผชิญปัญหา คุณภาพชีวิต ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง พลังสุขภาพจิต และการสนับสนุนทางสังคมของนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกในมหาวิทยาลัยเขตภาคเหนือของประเทศไทย 2) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสามารถในการเผชิญปัญหาและคุณภาพชีวิตของนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกในมหาวิทยาลัยเขตภาคเหนือของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกในมหาวิทยาลัยเขตภาคเหนือของประเทศไทย จำนวน 312 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุแบบมีตัวแปรแฝง ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีความสามารถในการเผชิญปัญหา คุณภาพชีวิต ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง และการสนับสนุนทางสังคมรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน สำหรับพลังสุขภาพจิตด้านความทนต่อแรงกดดัน และด้านการต่อสู้เอาชนะอุปสรรคอยู่ในระดับมาก ส่วนพลังสุขภาพจิตด้านการมีความหวังและกำลังใจอยู่ในระดับมากที่สุด 2) โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไคสแควร์ (χ2) = 90.89, df = 48, p-value = .00, RMSEA = .05, SRMR = .06, GFI = .96, AGFI = .92, CFI = .99 และ CN = 244.79 และพบว่าเส้นอิทธิพลมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกตัวแปร นอกจากนี้ยังพบว่าตัวแปรที่ส่งผลมากที่สุดต่อความสามารถในการเผชิญปัญหา คือ พลังสุขภาพจิต มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .80 รองลงมา คือ ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .65 สำหรับตัวแปรที่ส่งผลมากที่สุดต่อคุณภาพชีวิต คือ พลังสุขภาพจิต มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .59 รองลงมา คือ ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง และความสามารถในการเผชิญปัญหา มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .48 ทั้งสองตัวแปรen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesis Juthamas Chantamok 630132004.pdf52.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.