Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์-
dc.contributor.authorมณีเนตร สอนทุ่งen_US
dc.date.accessioned2023-10-16T00:53:01Z-
dc.date.available2023-10-16T00:53:01Z-
dc.date.issued2019-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79067-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the effects of Rational Emotive Behavior Group Therapy on academic procrastination of undergraduate students. This research was conducted by quasi-experimental research by examining undergraduate students of the Faculty of Law, Chiang Mai University. The materials of the study consisted of an academic procrastination scale and Rational Emotive Behavior Group Therapy program. The sampling of the research group was composed of 355 students. The assessment presented that there were 107 students with a score above 70 percentiles. Students from this group voluntarily participated in the experiment that was divided into two groups. The experimental group consisted of 8 students and the control group consisted of 10 students. The Wilcoxon signed rank test and Mann-Whitney U test, ranks test used in nonparametric statistics, had been used to determine those groups. The result indicated that Rational Emotive Behavior Group Therapy program had effects on academic procrastination behavior of the students according to the consequences as follows: 1) the students from experimental group had academic procrastination score less than the pre-test with the statistical significance at 0.5; and, 2) for the post-test, students from experimental group had academic procrastination score less than students from the control group with statistical significance at .05.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาของนักศึกษาปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeEffects of rational emotive behavior group therapy on academic procrastination of undergraduate studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- พฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาประยุกต์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมที่มีต่อการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาของนักศึกษาปริญญาตรีเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แหล่งข้อมูล คือ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแบบวัดการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษา และโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม โดยวัดระดับการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 355 คน ผลการวัดระดับ คือ มีผู้ที่มีคะแนนการผัดวันประกันพรุ่งฯ ที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 ขึ้นไป จำนวน 107 คน ซึ่งผู้วิจัยแบ่งผู้ที่สมัครใจเข้าร่วมการทดลองเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 8 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตินอนพาราเมตริก แบบ Wilcoxon singed rank test และแบบ Mann-Whitney Test ผลการศึกษาพบว่าโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมมีผลต่อการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาของนักศึกษาเห็น ได้จาก 1) นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) หลังการทดลองนักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการผัดวันประกันพรุ่งทางการศึกษาต่ำกว่านักศึกษา กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132013-มณีเนตร สอนทุ่ง.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.