Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79049
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิงห์ สุวรรณกิจ-
dc.contributor.advisorสายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.authorภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์en_US
dc.date.accessioned2023-10-15T04:42:53Z-
dc.date.available2023-10-15T04:42:53Z-
dc.date.issued2019-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79049-
dc.description.abstractUpper Chaophraya Basin and some parts of the Salaween Basin and Mekong Basin were transformed into "Payap Circle" by the government of Siam in Bangkok during 1900s as part of the thesapiban administrative reform. The process of the production of space of Payap Circle was a colonial one. Since the Siamese ruling class transformed the space and its relationship from the old one, the principality to the new one that Siam ruled as absolute monarchy. This regime annexed the area to increase the political and economic benefits and the control of the new system of man power, which this research analyses through its spatial aspect. From the land survey and the production of space, this analysis examines three kinds of space; the city, the rural area and the forest and mountainous area. The effective mechanisms of surveillance, patrolling as well as providing services gave Siam a powerful image to Siamese subjects and other peoples, some of who were provided with new the economic opportunities. Meanwhile the Siamese elite still exploited the semi-free labor for their own benefits. Moreover, the Siamese government played the main in establishing the knowledge about the area's history, archaeology and. This power-knowledge became an important instrument rule. Finally this thesis will explore the everyday life in the the Payap Circle under the Siamese rule, the spatial practices of the people who negotiated, fought back, and did not surrender even though they had limited power for negotiation in the colonial space.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสภาวะการกลายเป็นมณฑลพายัพ:ประวัติศาสตร์ของอานาจ ความรู้และการผลิตพื้นที่โดยสยาม (พ.ศ. 2416 2475)en_US
dc.title.alternativeBecoming Payap circle: a history of Siam's power-knowledge and production of space (1873-1932)en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทย -- การเมืองและการปกครอง-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashมณฑลพายัพ-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดินแดนตอนบนของสยามบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน, ลุ่มน้ำสาละวิน และลุ่มน้ำโขง บางส่วนได้ถูกรัฐบาลกรุงเทพฯ เปลี่ยนแปลงสถานภาพให้เป็นสิ่งที่เรียกว่า "มณฑลพายัพ" ตั้งแต่ ทศวรรษ 2440 ในฐานะส่วนหนึ่งของการปฏิรูปมณฑลเทศาภิบาล กระบวนการการผลิตพื้นที่มณฑล พายัพขึ้นมานับเป็น โครงการอาณานิคมลักษณะหนึ่ง จากการที่สยามได้เปลี่ยนแปลงจากพื้นที่และ ความสัมพันธ์แบบเดิมที่เจ้าประเทศราชเป็นองค์อธิปัตย์ มาสู่การครอบครอง และปกครองโดยรัฐบาล สยามที่ทำการผนวกดินแดนเพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการควบคุม แรงงานแบบใหม่ งานวิจัยนี้ ได้วิเคราะห์ผ่านมุมมองของพื้นที่ ตั้งแต่การสำรวจและผลิตพื้นที่ โดย จำแนกพื้นที่เป็น 3 ประเภทได้แก่ พื้นที่เมือง ชนบทและป่าเขา นอกจากนี้สยามยังได้ใช้กลไกอันมี ประสิทธิภาพในการสอดส่อง ตรวจตรา และให้บริการซึ่งสร้างภาพลักษณ์อันน่าเกรงขามต่อคนใต้ การปกครอง ขณะเดียวกันก็เอื้อประโยชน์และโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับคนบางกลุ่ม ทั้งยังได้หา ประโยชน์จากแรงงานกึ่งเสรีจากคนจำนวนไม่น้อย อย่างไรก็ตามสยามยังมีบทบาทในการสถาปนา ความรู้ด้านประวัดิศาสตร์ โบราณคดีและภาษาเหนือดินแดนดังกล่าว อันทำให้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ใน มณฑลพายัพและภาษาไทยกลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง ส่วนประเด็นสุดท้าย วิทยานิพนธ์ชิ้นนี้ได้เผยให้เห็นชีวิตประจำวันของราษฎรมณฑลพายัพในพื้นที่ อาณานิคมสยาม ที่แสดงให้เห็นปฏิบัติการเชิงพื้นที่ของสามัญชนเหล่านี้มีการตอบโต้อยู่ มิได้สยบ ยอมต่อสยามอย่างราบคาบ แม้จะมีอำนาจต่อรองน้อยมากในพื้นที่ก็ตามen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590151001-ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์.pdf25.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.