Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79044
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สราวุธ รูปิน | - |
dc.contributor.author | ต้วน, เย่เซียง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T04:20:20Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T04:20:20Z | - |
dc.date.issued | 2566-06-26 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79044 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to study the belief in ghosts among Lanna people in general, the social and cultural contexts, and the Pu Sae Ya Sae ritual (Phee Dong) in Mae Hia Sub-district, Mueang District, Chiang Mai. It also presented the patterns and methods for further conservation and development of the Pu Sae Ya Sae ritual (Phee Dong) in such area for cultural tourism. It was regarded as the quality research whereas the instruments included an interview and a field study through the structured interview forms by purposive sampling. The study results revealed that the Pu Sae Ya Sae ritual was associated with Lua people, the ancient group in Southeast Asia. In fact, it was a combination of traditional belief and Buddhism to be developed into traditional custom and practice as a part of spirit worships in Chiang Mai. It additionally held value for lifestyles, spirituality, and worthiness in preserving the natural resources that linked the belief in ghosts to watershed forest conservation. The Pu Sae Ya Sae ritual or Phee Dong in Mae Hia Sub-district, Mueang District, Chiang Mai Province, was handed down for more than 200 years till the current date. However, it was found that conservation and knowledge dissemination still lacked proper learning management. Therefore, the methods for effective learning and more interest among the local people, the public, and tourists should be established to raise awareness of values and importance regarding such ritual in various dimensions. A preparation of brochures and online media titled in “Conservation and Restoration of the Pu Sae Ya Sae Legend” along with the learning exhibition of “Recounting the Pu Sae Ya Sae Legend” can be further extended through learning and tourism mechanism as core culture of Chiang Mai. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Pu Sae Ya Sae | en_US |
dc.subject | ประเพณีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ | en_US |
dc.subject | ผีปู่แสะย่าแสะ | en_US |
dc.subject | การเลี้ยงดง | en_US |
dc.title | การศึกษาประเพณีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ (การเลี้ยงดง) ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title.alternative | Preserving and developing Pu Sae Ya Sae Ritual Tradition (Phee Dong) of Mae Hia Sub-District, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province for cultural tourism | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ประเพณีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผี -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- แม่เหียะ (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | แม่เหียะ (เชียงใหม่) -- ความเป็นอยู่และประเพณี | - |
thailis.controlvocab.thash | เชียงใหม่ -- ความเป็นอยู่และประเพณี | - |
thailis.controlvocab.thash | เชียงใหม่ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบริบทความเชื่อในการนับถือผีของชาวล้านนาโดยทั่วไป ศึกษาบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ของชุมชนบ้านแม่เหียะ ตลอดจนประเพณีการเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ (การเลี้ยงดง) ในเขตตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และเสนอรูปแบบและวิธีการอนุรักษ์และพัฒนาประเพณีการเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ (การเลี้ยงดง) ในเขตตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เครื่องมือคือการสัมภาษณ์และการศึกษาภาคสนาม โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า ประเพณีการเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับชาวลัวะซึ่งเป็นกลุ่มชนเก่าแก่ของอุษาคเนย์ เป็นการประสานระหว่างความเชื่อดั้งเดิมกับพุทธศาสนา จนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่โบราณจนเป็นส่วนหนึ่งพิธีเลี้ยงผีเมืองของเชียงใหม่ เป็นคุณค่าต่อวิถีชีวิต จิตวิญญาณ และคุณค่าในเชิงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการเชื่อมโยงความเชื่อเรื่องผีกับการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ ประเพณีการเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะหรือการเลี้ยงดง ของชุมชนตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ถูกถ่ายทอดมานานกว่า 200 ปี จนกระทั่งปัจจุบัน แต่ทั้งนี้พบว่าการอนุรักษ์และเผยแพร่องค์ความรู้ ยังขาดการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม จึงควรมีวิธีการให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธภาพและสร้างความสนใจอย่างแพร่หลาย ทั้งจากคนภายในชุมชน บุคคลทั่วไป นักท่องเที่ยว เพื่อกระตุ้นความตระหนักรู้ในคุณค่าและความสำคัญต่อประเพณีการเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะในหลากหลายมิติ การจัดทำสื่อแผ่นพับและสื่อออนไลน์ เรื่อง “สืบสาน ตำนานปู่แสะย่าแสะ” และการจัดนิทรรศการแหล่งเรียนรู้เรื่อง “เล่าขาน ตำนานปู่แสะย่าแสะ” ซึ่งสามารถขยายผลด้วยกลไกการท่องเที่ยวและการเรียนรู้เป็นศึกษาเรื่องวัฒนธรรมที่สำคัญของเมืองเชียงใหม่ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | FINEARTS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630332004-Yuexiang Duan.pdf | 32.64 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.