Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79014
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chalermpon Kongjit | - |
dc.contributor.author | Cao, Juanrui | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-11T10:53:12Z | - |
dc.date.available | 2023-10-11T10:53:12Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79014 | - |
dc.description.abstract | In recent years, introducing and implementing of the “Belt and Road” initiative have provided new opportunities for China’s development. As we all know, the arrival of the Covid-19 epidemic has accelerated the online teaching model, both an opportunity and a challenge for teaching Chinese as a foreign language. To pinpoint the causes of online Chinese teaching in classroom management, content gap analysis will conduct. Also, this paper will integrate the process of personal knowledge management into double diamond design thinking to form the whole research process. Therefore, this paper would be useful for limited teaching experience teachers to do the online Chinese classroom management to support the new learning style and environment for online Chinese learning. Classroom management is a critical component of successful teaching, whether in traditional or online settings. With the growth of online Chinese language instruction, there is a need for effective classroom management strategies that are tailored to the unique features of virtual classrooms. This study highlights the importance of establishing clear expectations and rules, building positive relationships with students, using technology to enhance instruction and communication, and providing frequent feedback and reinforcement. Additionally, the paper explores the challenges of classroom management in online settings, such as maintaining student motivation and attention, preventing, and addressing technical issues, and addressing cultural differences and language barriers. This paper has three strengths. First, this research has identified the key factors that contribute to effective management of online Chinese classrooms, including the development of a clear and structured teaching procedure, technical proficiency in online teaching tools, the use of appropriate teaching materials, and continuous evaluation and assessment of student learning outcomes. Second, the results of this study can be used in online Chinese teaching for classroom management, it can be used as the reference for future researchers. Moreover, this research has emphasized the importance of creating a conducive learning environment and fostering positive student-teacher interactions to promote student engagement and learning outcomes. Overall, this thesis provides insights and practical recommendations for online Chinese language instructors seeking to create a positive and effective virtual classroom environment. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Online Classroom | en_US |
dc.title | Online classroom management framework using personal knowledge management | en_US |
dc.title.alternative | การจัดการห้องเรียนออนไลน์โดยใช้การจัดการความรู้ส่วนบุคคล | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Chinese language -- Study and teaching | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Classroom management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Knowledge management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Teaching -- Aids and devices | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาการนำเสนอและดำเนินการโครงการความร่วมมือ “สายแถบและเส้นทาง” ได้ให้ โอกาสใหม่ๆในการพัฒนาของจีน เป็นที่ทราบกันดีว่าการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้เร่งความเปลี่ยนแปลง รูปแบบการสอนออนไลน์ ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายสำหรับการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์ข้อบกพร่องในการจัดการห้องเรียนสอนภาษาจีนแบบออนไลน์ กระบวนการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ และมีการบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ส่วนบุคคลเข้ากับกระบวนการออกแบบการบริการ “โมเดลเพชรคู่” ตลอดกระบวนการวิจัย ดังนั้น งานวิจัยนี้จะมีประโยชน์สำหรับครูที่มีประสบการณ์ การสอนอย่างจำกัดในการจัดการห้องเรียนและการจัดการสิ่งแวดล้อมในการเรียนแบบออนไลน์ เพื่อสนับสนุนรูปแบบการเรียนการสอนและสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนภาษาจีนแบบออนไลน์ใหม่ การบริหารจัดการห้องเรียนเป็นส่วนสำคัญในการสอนให้บรรลุความสำเร็จ ทั้งในรูปแบบการสอนแบบดั้งเดิมหรือการสอนแบบออนไลน์ จากการเพิ่มขึ้นของการเรียนการสอนภาษาจีนแบบออนไลน์ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของห้องเรียนออนไลน์ การศึกษานี้เน้นความสำคัญของการกำหนดความคาดหมายและกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ นักเรียน การใช้เทคโนโลยีเพื่อกระตุ้นการเรียนการสอนการสอนและการสื่อสาร และการให้ข้อคิดเห็นและการเสริมแรง นอกจากนี้ งานวิจัย ได้ศึกษาถึงความท้าทายในการจัดการห้องเรียนแบบออนไลน์ เช่น การกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจและความสนใจของนักเรียน การป้องกันและการแก้ไขปัญหาเทคนิค และข้อแตกต่างทางวัฒนธรรมและภาษา กระดาษวิจัยนี้มีจุดเด่น 3 ประการ 1) การระบุปัจจัยสำคัญที่มีส่วนในการจัดการชั้นเรียนภาษาจีนแบบออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงการพัฒนา กระบวนการสอนที่ชัดเจนและมีโครงสร้าง เทคนิคการใช้เครื่องมือการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้สื่อการสอนที่เหมาะสม และการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักเรียนอย่างต่อเนื่อง 2) สามารถนำผลการศึกษาไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนแบบออนไลน์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถใช้อ้างอิงสำหรับการวิจัยในอนาคตได้ นอกจากนี้ การวิจัยนี้ เน้นความสำคัญ ของการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม และส่งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนและครู เพื่อสร้างผลสัมฤทธิ์ด้านการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของนักเรียน โดยรวมแล้วงานวิจัยนี้นำเสนอความรู้เชิงลึกและข้อเสนอแนะสำหรับผู้สอนที่สามารถนำไปใช้ใน การสอนภาษาจีนแบบออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
642132013-CAO JUANRUI.pdf | 3.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.