Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79010
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โพธาภรณ์-
dc.contributor.authorคณิต ขาตาen_US
dc.date.accessioned2023-10-11T10:35:17Z-
dc.date.available2023-10-11T10:35:17Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79010-
dc.description.abstractthis research study the starting point was to study the roles and participation of water user organizations with indirect funding from the Office of Academic Social Administration, Chiang Mai University. in collaboration with the local research office of the Science Promotion Board Research and Innovation (TSRI) in the study area of Doi Ngu Reservoir Project Wiang Pa Pao District Chiang Rai It is the main project extended to the area of the Mae Taeng water transmission and maintenance project, Chiang Mai Province for comparison. Because the area of Chiang Mai, the urban context and the demand for non-agricultural water use has increased at an exponential rate. The initial research question therefore concerns the economic worth of diversion of limited water during the dry season to restore the ecosystems of urban water resources. This is due to effective wastewater management. Compared with solving wastewater problems with at-situ treatment, from observing and following up the work of the water user group for more than 3 years, the author therefore understands the nature of the participation process, divided into 2 forms. is the allocation of water in the sub-canal system according to the water distribution cycle pattern still occurs effectively at the same time, water user groups are often subject to interference from government agencies? in the use of water to control water pollution or to always be used for tourism in urban areas This violates Elinor Ostrom's conditions for managing water resources in a manner of co-management, and in most important respects. Water users who lack the incentive to cooperate in maintaining sustainable water sources. Especially when expanding the Unit of Analysis to cover all 3 water sources near the city, namely the water source from Mae Taeng, Mae Ngad Dam and Mae Kuang Dam. and three sectors utilizing water sources, namely the agricultural sector, the production of tap water for consumption and consumption. and the use of water for dilution from wastewater that is a problem of water pollution in urban areas. The author believes Currently, it is an institutional barrier to building participation among water users who benefit from universal and low-cost access to water. Therefore, there is a need for the establishment of new water user groups. To support cross-border water allocation to create the greatest mutual benefit for water users on both sides by allocating quotas. and allow negotiations between the three types of water users to collect fees. to invest in connecting the water distribution system This is to allow urban ecosystems to be restored by collecting wastewater into wastewater treatment plants and reserve water for production in agriculture and industry. The application of the concept of shared resource management may affect water user organizations in setting rules and mechanisms for clear water resource allocation. and cover more which will cause fairness to water users Create sustainability and security of water resources in Chiang Mai in the future. Based on the principles developed from the concept of Elinor Ostrom.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการผันน้ำข้ามจากภาคเกษตรไปสู่เมืองเพื่อการควบคุมมลพิษทางน้ำและเพื่อการอุปโภคบริโภคในเขตเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEconomic cost and stakeholder engagement in transfering irrigation water to control water pollution and meeting residential demand in urban Chiang Maien_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- เวียงป่าเป้า (เชียงราย)-
thailis.controlvocab.thashแหล่งน้ำ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีจุดเริ่มต้นจากการศึกษาบทบาทการมีส่วนร่วมขององค์กรผู้ใช้น้ำด้วยทุนสนับสนุนทางอ้อมจากสำนักบริหารวิชาการเพื่อสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานวิจัยท้องถิ่นของคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ในพื้นที่ศึกษาโครงการอ่างเก็บน้ำดอยงู อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย เป็นโครงการหลักขยายผลสู่พื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แตงจังหวัดเชียงใหม่เพื่อเปรียบเทียบ เนื่องจากพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่บริบทความเป็นเมืองและความต้องการใช้น้ำนอกภาคเกษตรมีจำนวนเพิ่มขึ้นในอัตราทวีคูณ คำถามวิจัยในขั้นต้นจึงเป็นเรื่องความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจจากการผันน้ำที่มีอยู่อย่างจำกัดในช่วงฤดูแล้งไปใช้เพื่อการฟื้นสภาพระบบนิเวศของแหล่งน้ำในเขตเมือง โดยมีสาเหตุมาจากการจัดการน้ำเสียอย่างมีประสิทธิผล เปรียบเทียบกับการแก้ไขปัญหาในการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยการบำบัด ณ แหล่งกำเนิด จากการสังเกตและติดตามการทำงานของกลุ่มผู้ใช้น้ำเป็นระยะเวลามากกว่า 3 ปี ผู้เขียนจึงเข้าใจธรรมชาติของกระบวนการมีส่วนร่วมจำแนกเป็น 2 รูปแบบคือ การจัดสรรน้ำในระบบคลองสายย่อยตามรูปแบบรอบเวรการส่งน้ำยังคงเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิผล ในขณะเดียวกันกลุ่มผู้ใช้น้ำมักถูกแทรกแซงจากหน่วยงานภาครัฐ ในการใช้น้ำเพื่อควบคุมมลพิษทางน้ำหรือเพื่อใช้ในการท่องเที่ยวในเขตเมืองเสมอ อันเป็นการฝ่าฝืนเงื่อนไขในการจัดการทรัพยากรน้ำในลักษณะของการจัดการทรัพยากรร่วมตามหลักของ Elinor Ostrom และในส่วนที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ ผู้ใช้น้ำที่ขาดแรงจูงใจในการร่วมมือรักษาแหล่งน้ำให้เกิดความยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขยายหน่วยการวิเคราะห์ Unit of Analysis ให้คลอบคลุมแหล่งน้ำใกล้เมืองทั้ง 3 แหล่ง ได้แก่ แหล่งน้ำจากแม่แตง เขื่อนแม่งัด และเขื่อนแม่กวง และสามภาคการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ ได้แก่ ภาคการเกษตร ภาคการผลิตน้ำประปาเพื่อการอุปโภคและบริโภค และการใช้น้ำดีเพื่อเจือจากน้ำเสียที่เป็นปัญหามลพิษทางน้ำในเขตเมือง ผู้เขียนเชื่อว่า ปัจจุบันในเชิงสถาบันจะเป็นอุปสรรคต่อการสร้างการมีส่วนร่วมในกลุ่มผู้ใช้น้ำที่ได้รับประโยชน์จากการเข้าถึงแหล่งน้ำอย่างทั่วถึงและมีต้นทุนต่ำ จึงมีความจำเป็นเกี่ยวกับการสร้างสถาบันของกลุ่มผู้ใช้น้ำใหม่ เพ่อสนับสนุนการจัดสรรน้ำข้ามสาขา ให้เกิดประโยชน์ร่วมกันกับผู้ใช้น้ำทั้งสองฝ่ายมากที่สุดด้วยการจัดสรรโควตา และเปิดโอกาสให้มีการเจรจาระหว่างผู้ใช้น้ำทั้งสามประเภทให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียม เพื่อลงทุนเชื่อมต่อระบบกระจายน้ำ ทั้งนี้เพื่อให้ระบบนิเวศในเขตเมืองได้รับการฟื้นฟูโดยการรวบรวมน้ำเสียเข้าสู่โรงบำบัดน้ำเสียและสำรองน้ำเพื่อการผลิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม การประยุกต์ใช้แนวคิดในการจัดการทรัพยากรร่วมอาจส่งผลต่อองค์กรผู้ใช้น้ำในการกำหนดกติกาและกลไกในการจัดสรรทรัพยากรน้ำให้เกิดความชัดเจน และคลอบคลุมมากขึ้น อันจะก่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้ใช้น้ำ สร้างความยั่งยืนและความมั่นคงทางด้านแหล่งน้ำของเมืองเชียงใหม่ในอนาคต โดยอาศัยหลักที่พัฒนาจากแนวคิดของ Elinor Ostromen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601631001-คณิต ขาตา.pdf17.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.