Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSaisamorn Lumyong-
dc.contributor.authorLiu, Yuanshuaien_US
dc.date.accessioned2023-10-10T10:44:04Z-
dc.date.available2023-10-10T10:44:04Z-
dc.date.issued2023-05-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79001-
dc.description.abstractAmanita is an emblematic genus and the focal point of various research programs. Up to now, about 700 species have been reported worldwide. Most Amanita species form ectomycorrhizal symbiosis with plants, which is important to the local forest ecosystem. In addition, Amanita contains both well-known edible and fearsomely deadly species, which continuously affect local people’s life either by offering tasty nutrients or causing poisonous cases. On one hand, despite being located in a tropical region, and possessing a seasonal climate and complex topography, the species diversity of Amanita in Thailand is limited. On another hand, there is a significant gap between Thailand and other countries in the field of nutrient analysis of edible Amanita and toxin analysis of poisonous Amanita. Based on the aforementioned reasons, this study carried out the relevant research, which aims to provide a considerable contribution to the Thai Amanita research. During the rainy seasons from 2018 to 2020, a total of 350 specimens were collected from 14 provinces in northern Thailand (Chiang Mai, Chiang Rai, Lampang, Lamphun, Nan, Phayao, Phetchabun, and Phitsanulok) and northeastern Thailand (Kalasin, Khon Kaen, Loei, Mukdahan, Nong Bua Lam Phu, and Sakon Nakhon). By utilizing both the morphological characteristics and multi-gene phylogenetic (nrLSU, ITS, RPB2, TEF1-α, and TUB) analyses, we accurately recognized 23 species. All these 23 species belong to three subgenera and seven sections, viz. sections Amanita (seven species), Caesareae (four species), Amidella (two species), Phalloideae (one species), Roanokenses (four species), Validae (two species), and Lepidedlla (three species). Among these taxa, seven are reported as new to science, and eight are reported as new to Thailand. Seven new taxa described are as follows: A. kalasinensis, A. ravicrocina, and A. submelleialba from the sect. Amanita; A. claristriata and A. fulvisquamea from the sect. Amidella; A. albifragilis from the sect. Phalloideae; and A. albicarnosa from the sect. Lepidella. Eight new records to Thailand identified are as follows: A. elata from the sect. Amanita; A. pseudoprinceps and A. subhemibapha from the sect. Caesareae; A. griseofarinosa and A. neoovoidea from the sect. Roanokenses; A. citrinoannulata and A. cacaina from the sect. Valid; and A. aureofloccosa from the sect. Lepidella. By utilizing both the morphological characteristics and multi-gene phylogenetic analyses, 19 specimens collected from nature or bought from local markets were identified as four Amanita species, viz. A. hemibapha, A. pseudoprinceps, A. rubromarginata, and A. subhemibapha. Six samples representing these four Amanita species were selected to carry out nutritional composition, total phenolic content, antioxidant, and α-glucosidase inhibitory activities. The results indicate that A. pseudoprinceps and A. subhemibapha contain significantly higher protein contents than A. hemibapha and A. rubromarginata. Amanita pseudoprinceps showed the highest content of fiber. Amanita rubromarginata had the highest ash content. In addition, A. hemibapha contained significantly higher carbohydrate content than the other Amanita species, and A. rubromarginata contained the highest fat content. Amanita pseudoprinceps contained the highest value of total phenolic content, DPPH activity, and α-glucosidase inhibition activity over the other three species. Twenty-three samples representing 23 taxa were selected, and carried out the toxicity determinations. Five deadly toxins, viz. α-amanitin, β-amanitin, γ-amanitin, phallacidin, and phalloidin were set as standard to test the content of these toxins in selected Amanita species. The high-performance liquid chromatography (HPLC) was adopted to separate and detect the five deadly toxins in selected Amanita species. The results showed that A. albifragilis belonging to Amanita sect. Phalloideae contains both α-amanitin (522.8 μg/g) and β-amanitin (1,473.3 μg/g) toxins. Conversely, the other 22 samples representing 22 taxa didn’t contain any of these five toxins.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePhylogeny, taxonomy and chemical analysis of amanita in northern and northeastern thailanden_US
dc.title.alternativeวงศ์วานวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานและการวิเคราะห์ทางเคมีของ Amanita ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAmanita -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshAmanita -- Thailand, Northeastern-
thailis.controlvocab.lcshAmanita -- Morphology-
thailis.controlvocab.lcshMicrobiology-
thailis.controlvocab.lcshBiology -- Classification-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractเห็ดสกุล Amanita เป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจสำหรับงานวิจัยต่างๆ ปัจจุบันจากการรายงานทั่วโลกพบว่ามีอยู่ประมาณ 700 ชนิด (species) โดยส่วนมากสายพันธุ์จาก Amanita ก่อตัวมาจากการมีชีวิตร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างรากับรากของพืชซึ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศป่าในท้องถิ่น นอกจากนี้เห็ดสกุล Amanita มีทั้งชนิดที่กินได้และเป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งให้ทั้งผลดีและผลเสียต่อชีวิตของประชากรในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นการใช้เป็นอาหารที่อร่อยหรือทำให้เกิดพิษ ในแง่หนึ่ง ถึงแม้ประเทศไทยจะตั้งอยู่ในเขตร้อน รวมถึงมีสภาพอากาศตามฤดูกาลและมีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ แต่ความหลากหลายของชนิด Amanita ในประเทศไทยก็ยังมีจำกัด นอกจากนี้ในอีกแง่หนึ่ง ประเทศไทยยังมีข้อสำคัญที่แตกต่างจากประเทศอื่นๆในเรื่องการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของ Amanita ชนิดที่กินได้และการวิเคราะห์สารพิษของชนิดที่มีพิษ จากเหตุผลทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น การศึกษานี้ได้ดำเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะมุ่งเน้นให้การสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับเห็ดสกุล Amanita ในประเทศไทย ในช่วงฤดูฝนระหว่างปี พ.ศ 2561 ถึง พ.ศ 2563 เก็บตัวอย่างได้จำนวน 350 ตัวอย่าง จาก 14 จังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน น่าน พะเยา เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (กาฬสินธุ์ ขอนแก่น เลย มุกดาหาร หนองบัวลำภู และสกลนคร) จากการศึกษาทั้งลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการวิเคราะห์วงศ์วานวิวัฒนาการด้วยหลายยีน (multi-gene phylogenetic) (nrLSU, ITS, RPB2, TEF1-α และ TUB) จัดจำแนกได้ทั้งหมด 23 ชนิด โดยแบ่งออกเป็น 3 subgenera และ 7 sections ได้แก่ sections Amanita (7 ชนิด) sections Caesareae (4 ชนิด) sections Amidella (2 ชนิด) sections Phalloideae (1 ชนิด) sections Roanokenses (4 ชนิด) sections Validae (2 ชนิด) และ sections Lepidedlla (3 ชนิด) และจากเห็ดทั้งหมดเหล่านี้ พบเป็นเห็ดชนิดใหม่ของโลก จำนวน 7 ชนิด และเป็นเห็ดชนิดใหม่ของประเทศไทย จำนวน 8 ชนิด ซึ่งเห็ดชนิดใหม่ของโลกทั้ง 7 ชนิดมีดังนี้ A. kalasinensis A. ravicrocina และ A. submelleialba จาก section Amanita; A. claristriata และ A. fulvisquamea จาก section Amidella; A. albifragilis จาก section Phalloideae; และ A. albicarnosa จาก section Lepidella ส่วนเห็ดชนิดใหม่ของประเทศไทย จำนวน 8 ชนิดมีดังนี้ A. elata จาก section Amanita; A. pseudoprinceps และ A. subhemibapha จาก section Caesareae; A. griseofarinosa และ A. neoovoidea จาก section Roanokenses; A. citrinoannulata และ A. cacaina จาก section Valid; และ A. aureofloccosa จาก section Lepidella จากการศึกษาทั้งลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการวิเคราะห์วงศ์วานวิวัฒนาการด้วยหลายยีน สามารถจัดจำแนกตัวอย่างทั้งหมด 19 ตัวอย่างที่เก็บจากธรรมชาติหรือซื้อจากตลาดในท้องถิ่น แบ่งออกเป็น Amanita 4 ชนิด ได้แก่ A. hemibapha A. pseudoprinceps A. rubromarginata และ A. subhemibapha จากนั้นทำการคัดเลือกตัวอย่าง 6 ตัวอย่างจากเห็ด Amanita 4 ชนิด เพื่อเป็นตัวแทนสำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี รวมถึงคุณค่าทางโภชนาการ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก สารต้านอนุมูลอิสระ และการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ผลการศึกษาพบว่า A. pseudoprinceps และ A. subhemibapha มีปริมาณโปรตีนสูงกว่า A. hemibapha และ A. rubromarginata อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนปริมาณเส้นใย พบว่า A. pseudoprinceps มีปริมาณเส้นใยสูงที่สุด และ A. rubromarginata มีปริมาณเถ้าสูงสุด นอกจากนี้ พบว่า A. hemibapha มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตสูงกว่า Amanita ชนิดอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ และ A. rubromarginata มีปริมาณไขมันสูงสุด A. pseudoprinceps มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่สูงที่สุด รวมถึงกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ และกิจกรรมการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ที่ดีกว่า Amanita อีก 3 ชนิด จากการคัดเลือกตัวอย่าง 23 ตัวอย่างจาก Amanita 23 ชนิด มาตรวจสอบความเป็นพิษของสารพิษ 5 ชนิด ได้แก่ สารแอลฟา อะมานิติน (α-amanitin) สารเบต้า อะมานิติน (β-amanitin) สารแกรมมา อะมานิติน (γ-amanitin) สารฟัลลาซิดิน (phallacidin) และ สารฟัลลอยด์ดิน (phalloidin) และใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับการตรวจสอบหาปริมาณสารพิษเหล่านี้ในตัวอย่าง Amanita ที่คัดเลือก โดยใช้เครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูงในการแยกและตรวจหาสารพิษทั้ง 5 ชนิด ผลการตรวจสอบพบว่า A. albifragilis ที่อยู่ใน Amanita section Phalloideae มีทั้งสารพิษแอลฟา อะมานิติน (522.8 μg/g) และ เบต้า อะมานิติน (1,473.3 μg/g) ในทางตรงกันข้าม ตัวอย่างที่คัดเลือกอีก 22 ตัวอย่างไม่พบสารพิษทั้ง 5 ชนิดนี้.en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610555801-Yuanshuai Liu.pdf610555801-Yuanshuai Liu7.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.