Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78996
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถพล แก้วขาว | - |
dc.contributor.author | พลอยไพลิน บุญช่วย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-09T16:56:30Z | - |
dc.date.available | 2023-10-09T16:56:30Z | - |
dc.date.issued | 2566-03-31 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78996 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent study was to investigate the Lanna magic square, a magic square found in northern Thai yantras containing Lanna characters and numerals, which were converted into Hindu-Arabic numerals with numbers arranged in a 4x4 square in the amount of 16 characters, including 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 and 21 with the number 14 duplicated. The results of this study indicated that Lanna Magic Square possessed the property of pan Magic Square and showed the determinant of the pan Lanna magic square from 5 mathematical transformations of a prototype reflection with a diagonal as the main reflection 90-degree anti-clockwise rotation first digit to last digit and special mathematical transformations. Using row operation method in linear algebra, we can conclude that the determinant of such magic square is zero. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | จัตุรัสกล | en_US |
dc.subject | จัตุรัสกลล้านนา | en_US |
dc.subject | ยันต์ | en_US |
dc.title | ดีเทอร์มิแนนต์ของจัตุรัสกลล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | Determinants of the lanna magic squares | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ดีเทอร์มิแนนต์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ตัวเลข | - |
thailis.controlvocab.thash | คณิตศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | เครื่องรางของขลัง -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระนี้ ได้ศึกษาจัตุรัสกลล้านนาซึ่งเป็นจัตุรัสกลที่พบในยันต์ทางภาคเหนือที่มีอักขระ และตัวเลขล้านนา โดยถูกนำมาแปลงเป็นตัวเลขฮินดูอารบิกที่มีตัวเลขเรียงกันในขนาดจัตุรัสขนาด 4x4 จำนวน 16 ตัว ได้แก่ 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 และ 21 โดยที่มีเลข 14 ซ้ำกัน 1 คู่ จากการศึกษาพบว่าจัตุรัสกลล้านนามีสมบัติเป็นจัตุรัสกลแบบแพนและได้แสดงการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ของ จัตุรัสกลล้านนาแบบแพนที่เกิดจากการแปลงทางคณิตศาสตร์ 5 แบบ ของจัตุรัสกลล้านนาตัวต้นแบบ 1 ตัว ได้แก่ การสะท้อนโดยมีเส้นทแยงมุมเป็นเส้นสะท้อนหลัก การหมุน 90 องศาแบบทวนเข็มนาฬิกา การนำหลักแรกไปไว้หลักสุดท้าย การนำแถวแรกไปไว้ในแถวสุดท้าย และการแปลงทางคณิตศาสตร์แบบพิเศษ พบว่าค่า ดีเทอร์มิแนนต์เป็นศูนย์ โดยใช้ความรู้เรื่องการดำเนินการเบื้องต้นแบบแถว | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610532006 พลอยไพลิน บุญช่วย.pdf | 7.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.