Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ เรืองศรี-
dc.contributor.authorบุญพิทักษ์ เสนีบุรพทิศen_US
dc.date.accessioned2023-10-02T10:21:18Z-
dc.date.available2023-10-02T10:21:18Z-
dc.date.issued2023-05-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78906-
dc.description.abstractThis dissertation aims at understanding the concept of romantic love in the songs of Suntaraporn band as a representative of the social and cultural life of Bangkok’s middle class. From the 1930s to the 1960s was the high time of band at a cross between modernity and Thainess. By blending American-style jazz with vernacular music, the band distilled a modern cultural taste of the city’s middle class. Its songs also reflected a value put on romantic love, in tandem with the “sentimental” emotions and expressions of the class, as well as the “conditions” that affect love life and relationship styles of the class in relation with other contemporary contexts.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสุนทราภรณ์ ความรัก ชนชั้นกลาง เพลง วัฒนธรรมบันเทิงen_US
dc.title“ความรักของชนชั้นกลางไทย” ในบทเพลงสุนทราภรณ์ พ.ศ. 2482 – 2516en_US
dc.title.alternative"Thai Middle - Class Love" in Suntaraporn Songs Between 1939 - 1973en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์เพลง-
thailis.controlvocab.thashเพลง-
thailis.controlvocab.thashความรักในดนตรี-
thailis.controlvocab.thashความรัก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้ มีความประสงค์ในการศึกษาความรักโรแมนติก ในเพลงของวงดนตรี สุนทราภรณ์ เพื่อทำความเข้าใจความรักโรแมนติกของกลุ่มชนชั้นกลางชาวกรุงที่มีวิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมในสังคมเมืองกรุงเทพฯ ในช่วงทศวรรษ 2480 - กลางทศวรรษ 2510 (พ.ศ. 2516) ช่วงเวลาที่วงดนตรีสุนทราภรณ์กำลังได้รับความนิยมอย่างยิ่ง เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างความเป็นสมัยใหม่กับความเป็นไทย โดยการรับเอาดนตรี “แจ๊ซ” แบบอเมริกัน ซึ่งสอดคล้องกับรสนิยมการบริโภควัฒนธรรมบันเทิงแบบสมัยใหม่ของชนชั้นกลางชาวกรุง และเพลงของวงดนตรี สุนทราภรณ์ยังเน้นความสำคัญของความรักโรแมนติก ซึ่งตอบสนองต่ออารมณ์ความรู้สึกรวมทั้งสะท้อนการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกอย่าง “อ่อนไหว” ของชนชั้นกลางชาวกรุง อีกทั้งยังแสดงถึง “เงื่อนไข” ที่สร้างผลกระทบต่อชีวิตรักและความสัมพันธ์ ของชนชั้นกลางชาวกรุงซึ่งมีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงของบริบทแวดล้อมอื่นๆ ร่วมสมัยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.