Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ทองท้วม-
dc.contributor.authorจุฑามาศ พุทธาen_US
dc.date.accessioned2023-09-26T12:59:51Z-
dc.date.available2023-09-26T12:59:51Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78899-
dc.description.abstractAir pollution problems in Thailand that particulate matter less than 2.5 microns in size exceeds the standard by 3.6 times the World Health Organization air quality guidelines. It brings a variety of ways to prevent particulate matter. Making the indoor area is a dust-free area by the positive pressure chamber system with air purification system is a highly efficient method. A townhouse has an open space between the floors of the stair hall that connects, that can use the principle of the air-pressurized system to make every floor of the building have positive pressure. When using principle of single-injection air-pressurized system is implemented in a typical townhouse with SOLIDWORKS Flow Simulation program. There were problems in controlling the direction of air flow and controlling the pressure caused by the general style of the stair hall, not designed to use this principle and system. This research aims to study the design of stairwell and air distribution in a townhouse to prevent particulate matter using air-pressurized by testing from modeling with initial variables that is a stairwell position, stair style, air distribution position and the number of air distribution points in the stair hall. There are indicators of differential pressure, air velocity and airflow rate. Simulated tests on climate control variables during the most critical period March and Aprill. It was found that the differential pressure values were quite similar and within the specified criteria by the form in which the stairwell position is in front the straight stair shape produces the greatest differential pressure compared to other designs. As for the average wind speed in each area on each floor, they are quite similar. The 3-point distribution in every floor will spread the wind more evenly than the 2-point distribution, but the wind speed is relatively low. Compared to a 2-point distribution, air distribution at the bottom and top of the building can produce more compressed air flow at the first floor than distribution at the center of the building. In terms of air flow rate, It was found that the U-shape stair had higher Air change rates value than the others. which is related to the volume of the interior space from the design stage, starting from determining the air quality class. Calculate the volume of compressed air hallway design and design of air distribution Therefore, it is a guideline to make the area inside the house a dust-free area. techniques can be applied or further research on other variables to be more efficient. In this way, the result can create a good quality of life for the residents as well.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการออกแบบโถงบันไดและการจ่ายลมในทาวน์เฮาส์เพื่อป้องกันฝุ่นละอองโดยใช้ระบบอัดอากาศen_US
dc.title.alternativeDesign guidelines for stairwell and air distribution in a townhouse to prevent particulate matter using air-pressurized systemen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashบ้านแถว -- การออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashการตกแต่งภายใน-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ-
thailis.controlvocab.thashฝุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากปัญหามลพิษทางอากาศในประเทศไทย โดยเฉพาะฝุ่นละอองที่มีขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนที่มีค่าเกินกว่ามาตรฐานถึง 3.6 เท่าของค่าแนวทางคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก นำมาซึ่งแนวทางป้องกันฝุ่นละอองหลากหลายวิธี ซึ่งการทำให้พื้นที่ภายในอาคารเป็นพื้นที่ปลอดฝุ่นละออง ด้วยระบบห้องความดันบวกพร้อมระบบฟอกอากาศเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูง บ้านพักอาศัยประเภททาวน์เฮาส์มีลักษณะของพื้นที่โล่งระหว่างชั้นของโถงบันไดที่เชื่อมต่อกันเป็นลักษณะที่สามารถนำหลักการของระบบอัดอากาศมาใช้ในการออกแบบให้ทุกชั้นของอาคารมีความดันเป็นบวกได้ เมื่อนำหลักการอัดอากาศ การจ่ายลมแบบจุดเดียวมาใช้ในรูปแบบทาวน์เฮาส์ทั่วไปด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS Flow Simulation พบว่ามีปัญหาในเรื่องการควบคุมทิศทางการไหลของอากาศและการควบคุมความดันอยู่ ซึ่งเกิดจากรูปแบบของโถงบันไดทั่วไปที่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อใช้หลักการและระบบนี้โดยเฉพาะ งานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาหาแนวทางการออกแบบโถงบันไดและการจ่ายลมในทาวน์เฮาส์โดยใช้ระบบอัดอากาศ ให้ภายในโถงมีความดันเป็นบวกสามารถป้องกันฝุ่นละอองเข้ามาในอาคารได้ โดยทดสอบจากการสร้างแบบจำลองที่มีตัวแปรต้น เป็นตำแหน่งบันได รูปแบบบันได ตำแหน่งการจ่ายลม และจำนวนจุดจ่ายลมในโถงบันได มีดัชนีชี้วัดเป็นค่าความดันแตกต่าง ความเร็วลม และอัตราการไหลเวียนของอากาศ โดยควบคุมอ้างอิงจากสภาพอากาศในช่วงที่วิกฤติที่สุด ช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พบว่า ค่าความดันแตกต่างค่อนข้างใกล้เคียงกัน และอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด โดยรูปแบบที่ตำแหน่งบันไดอยู่ด้านหน้า รูปร่างบันไดเป็นแนวตรงจะทำให้เกิดความดันแตกต่างได้มากที่สุดเทียบกับรูปแบบอื่นๆ ในส่วนของความเร็วลมเฉลี่ยในแต่ละพื้นที่ในแต่ละชั้นจะค่อนข้างใกล้เคียงกัน การจ่ายแบบ 3 จุดเข้าในทุกชั้นจะกระจายลมได้ทั่วถึงมากกว่าแบบ 2 จุด แต่ค่าความเร็วลมค่อนข้างต่ำ เมื่อเทียบกับการจ่ายแบบ 2 จุด การจ่ายลมที่ด้านล่างและด้านบนอาคารสามารถทำให้เกิดกระแสลมอัดที่พื้นที่ชั้น 1 ได้มากกว่าการจ่ายที่ตรงกลางอาคาร ในส่วนของอัตราการไหลของอากาศ พบว่ารูปแบบบันไดแบบตัวยู จะมีค่าการระบายอากาศ (ACH) มากกว่าแบบอื่นๆ ซึ่งสัมพันธ์กับปริมาตรของพื้นที่ภายใน จากการศึกษาสามารถสรุปเป็นแนวทางการออกแบบโดยเริ่มจากการกำหนดชั้นคุณภาพอากาศ คำนวณปริมาณอากาศในการอัดอากาศ ออกแบบโถงบันได และออกแบบการจ่ายลม จึงเป็นแนวทางในการทำให้พื้นที่ภายในบ้านเป็นพื้นที่ปลอดฝุ่นละอองได้ สามารถนำเทคนิคไปประยุกต์ใช้ หรือศึกษาวิจัยต่อในตัวแปรที่มีผลอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ ผลที่ได้สามารถสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้อยู่อาศัยได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611731003-จุฑามาศ พุทธา.pdf8.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.